วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2560

อภิธัมมัตถวิภาวินี ปริจเฉทที่ ๒ โสภณเจตสิกวัณณนา

โสภณเจตสิกวณฺณนา
โสภณเจตสิกวณฺณนา การอธิบายโสภณเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
          ๑๙๗. สทฺทหตีติ  สทฺธา  พุทฺธาทีสุ  ปสาโท ฯ  สา  สมฺปยุตฺตาน ปสาทนลกฺขณา  อุทกปฺปสาทกมณิ  วิย  ฯ
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด สทฺทหติ ย่อมเชื่อ อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น สทฺธา ชื่อว่า สัทธา, ปสาโท ได้แก่ ความเลื่อมใส พุทฺธาทีสุ  ในพระรัตนตรัยมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น. สา สทฺธา สัทธานั้น ปสาทลกฺขณา มีการทำให้ - สมฺปยุตฺตานํสัมปยุตธรรม - มีความเลื่อมใสเป็นลักษณะ วิย เหมือนกับ อุทกปฺปสาทกมณิ แก้วมณีทำให้น้ำใส.

          ๑๙๘. สรณ  สติ  อสมฺโมโส ฯ สา  สมฺปยุตฺตาน สารณลกฺขณา  ฯ
          สรณํ การระลึกได้ สติ ชื่อว่า สติ, อสมฺโมโส ได้แก่ การไม่หลงลืม. สา สติ สตินั้น สารณลกฺขณา มีการทำให้ - สมฺปยุตฺตานํ สัมปยุตธรรม - มีการระลึกได้ เป็นลักษณะ. 

          ๑๙๙. หิริยติ  กายทุจฺจริตาทีหิ ชิคุจฺฉตีติ  หิริ  ฯ  สา  ปาปโต  ชิคุจฺฉนลกฺขณา  ฯ
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด หิริยติ ย่อมละอาย ชิคุจฺฉติ คือย่อมรังเกียจ กายทุจฺจริตาทีหิ แต่บาปธรรมมีกายทุจริตเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น หิริ ชื่อว่า หิริ. สา หิริ หิริ นั้น ชิคุจฺฉนลกฺขณา มีการรังเกียจ ปาปโต แต่บาป เป็นลักษณะ.
          ๒๐๐. โอตฺตปฺปตีติ โอตฺตปฺป  ฯ  ต  ปาปโต  อุตฺตาสลกฺขณ  อตฺตคารววเสน ปาปโต  ชิคุจฺฉนโต  กุลวธู  วิย  หิริ  ฯ  ปรคารววเสน  ปาปโต  โอตฺตาสนโต  เวสิยา  วิย  โอตฺตปฺป  ฯ 
          ยํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาติใด โอตฺตปฺปติ ย่อมเกรงกลัว อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ  ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น โอตฺตปฺปํ ชื่อว่า โอตตัปปะ. ตํ โอตฺตปฺปํ โอตตัปปะนั้น  อุตฺตาสลกฺขณํ มีการสะดุ้งกล้ว ปาปโต แต่บาป เป็นลักษณะ.  หิริ หิริ วิย เหมือนกับ กุลวธู กุลสตรี ชิคุจฺฉนโต เพราะรังเกียจ ปาปโต แต่บาป อตฺตคารววเสน เนื่องด้วยเคารพตน. โอตฺตปฺปํ โอตตัปปะ วิย เหมือนกับ เวสิยา หญิงแพศยา โอตฺตาสนโต เพราะเกรงกลัว ปาปโต แต่บาป ปรคารววเสน เนื่องด้วยเคารพผู้อื่น.

          ๒๐๑. โลภปฏิปกฺโข อโลโภ ฯ  โส  อารมฺมเณ  จิตฺตสฺส  อลคฺคตาลกฺขโณ  มุตฺตภิกฺขุ  วิย  ฯ
          โลภปฏิปกฺโข สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะ อโลโภ ชื่อว่า อโลภะ. โส อโลโภ อโลภะนั้น  อลฺคตาลกฺขโณ มีการไม่ติดข้อง - อารมฺมเณ ในอารมณ์ จิตฺตสฺส แห่งจิต - เป็นลักษณะ วิย เหมือน มุตฺตภิกฺขุ ภิกษุผู้หลุดพ้นแล้ว .

          ๒๐๒. โทสปฏิปกฺโข  อโทโส  ฯ  โส  อจณฺฑิกฺกลกฺขโณ  อนุกุลมิตฺโต  วิย  ฯ
          โทสปฏิปกฺโข สภาวะที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโทสะ อโทโส ชื่อว่า อโทสะ. โส อโทโส อโทสะนั้น อจณฺฑิกฺกลกฺขโณ มีความไม่ดุร้ายเป็นลักษณะ อนุกุลมิตฺโต วิย เหมือนกับมิตรผู้คอยช่วยเหลือ.

          ๒๐๓. เตสุ  เตสุ  ธมฺเมสุ  มชฺฌตฺตตา  ตตฺรมชฺฌตฺตตา  ฯ  สา จิตฺตเจตสิกาน อชฺฌุเปกฺขนลกฺขณา สมฺปวตฺตาน อสฺสาน สารถิ วิย ฯ
          มชฺฌตฺตตา ความเป็นธรรมที่มีสภาวะตั้งอยู่กลางๆ  เตสุ เตสุ ธมฺเมสุ   ในธรรมนั้นๆ ที่สัมปยุตกับตน ตตฺตรมชฺฌตฺตตา ชื่อว่า ตัตรมัชฌัตตตา.  สา ตตฺตรมชฺฌตฺตตา ตัตตรมัชฌัตตตานั้น อชฺฌุเปกฺขนลกฺขณา มีการวางเฉย จิตฺตเจตสิกานํ ต่อจิตและเจตสิกทั้งหลาย วิย ดุจ สารถิ สารถี อชฺฌุเปกฺขโน ที่วางเฉย อสฺสานํ ต่อม้า สมฺปวตฺตานํ ที่ควบไปสม่ำเสมอแล้ว.

          ๒๐๔. กายสฺส  ปสฺสมฺภน  กายปสฺสทฺธิ  ฯ  จิตฺตสฺส  ปสฺสมฺภน จิตฺตปสฺสทฺธิ  ฯ  อุโภปิ  เจตา  กายจิตฺตาน  ทรถวูปสมลกฺขณา  ฯ
          ปสฺสมฺภนํ ความสงบ กายสฺส แห่งกาย กายปสฺสทฺธิ ชื่อว่า กายปัสสัทธิ. ปสฺสมฺภนํ ความสงบ จิตฺตสฺส แห่งจิต จิตฺตปสฺสทฺธิ ชื่อว่า จิตตปัสสัทธิ. ก็ เอตา กายปสฺสทฺธิจิตฺตปสฺสทฺธิโย กายปัสสัทธิและจิตตปัสสัทธิเหล่านี้ อุโภปิ แม้ทั้งสอง ทรถวูปสมลกฺขณา มีการเข้าไประงับความกระวนกระวาย - กายจิตฺตานํ แห่งกายและจิต - เป็นลักษณะ.  

          ๒๐๕. กายสฺส  ลหุภาโว กายลหุตาฯ ตถา  จิตฺตลหุตาฯ ตา กายจิตฺตครุภาว-วูปสมลกฺขณา  ฯ 
          ลหุภาโว ความเบา กายสฺส แห่งกาย กายลหุตา ชื่อว่า กายลหุตา. ตถา อย่างนั้นเหมือนกัน ลหุภาโว ความเบา จิตฺตสฺส แห่งจิต จิตฺตลหุตา ชื่อว่า จิตฺตลหุตา. ตา กายลหุตาจิตฺตลหุตาโย กายลหุตาและจิตตลหุตาเหล่านั้น กายจิตฺตครุภาววูป-สมลกฺขณา มีการเข้าไประงับซึ่งความหนักแห่งกายและจิตเป็นลักษณะ.

          ๒๐๖. กายสฺส  มุทุภาโว  กายมุทุตา  ฯ ตถา จิตฺตมุทุตา  ฯ   ตา  กายจิตฺตถทฺธ-ภาววูปสมลกฺขณา  ฯ 
          มุทุภาโว ความอ่อน กายสฺส แห่งกาย กายมุทุตา ชื่อว่า กายมุทุตา. ตถา เหมือนอย่างนั้น [มุทุภาโว ความอ่อน จิตฺตสฺส แห่งจิต]  จิตฺตมุทุตา ชื่อว่า จิตตมุทุตา. ตา กายมุทุตาจิตฺตมุทุตาโย กายมุทุตาและจิตตมุทุตาเหล่านั้น กายจิตฺตถทฺธภาววูปสมลกฺขณา มีการเข้าไประงับความแข็งกระด้างแห่งกายและจิตเป็นลักษณะ.

          ๒๐๗. กมฺมนิ สาธุ  กมฺมฺ ฯ ตสฺส  ภาโว กมฺมฺตา ฯ กายสฺส  กมฺมฺตา กายกมฺมฺตา  ฯ  ตถา  จิตฺตกมฺมฺตา  ฯ  ตา  กายจิตฺตาน อกมฺมฺภาววูปสมลกฺขณา  ฯ
          สาธุ ความสำเร็จ กมฺมนิ ในการงาน กมฺมฃฺฃํ ชื่อว่า กัมมัญญะ. ภาโว  ความเป็น ตสฺส กมฺมฃฺฃสฺส แห่งความสำเร็จในการงานนั้น กมฺมฃฺฃตา ชื่อว่า กัมมัญญตา.  กมฺมฃฺฃตา ความสำเร็จในการงาน กายสฺส แห่งกาย กายกมฺมฃฺฃตา ชื่อว่า กายกัมมัญญตา. ตถา เหมือนอย่างนั้น กมฺมฃฺฃตา ความสำเร็จในการงาน จิตฺตสฺส แห่งจิต จิตฺตกมฺมฃฺฃตา ชื่อว่า จิตตกัมมัญญตา.

          ๒๐๘. ปคุณสฺส  ภาโว  ปาคุฺ  ฯ ตเทว  ปาคุฺตา  ฯ  กายสฺส  ปาคุฺตา  กายปาคุฺตาฯ ตถา  จิตฺตปาคุฺตา ฯ  ตา กายจิตฺตาน  เคลฺวูปสมลกฺขณา  ฯ
          ภาโว ภาวะ ปคุณสฺส แห่งบุคคลผู้คล่องแคล่ว ปาคุฃฺฃํ ชื่อว่า ปาคุญญะ. ตํ ปาคุฃฺฃํ เอว ปาคุญญะนั้นนั่นเอง ปาคุฃฺฃตา เป็นปาคุญญตา. ปาคุฃฺฃตา ความคล่องแคล่ว กายสฺส แห่งกาย  กายปาคุฺตา ชื่อว่า กายปาคุญญตา. ตถา เหมือนอย่างนั้น ปาคุฃฺฃตา ความคล่องแคล่ว จิตฺตสฺส แห่งจิต  จิตฺตปาคุฺตา ชื่อว่า จิตตปาคุญญตา. ตา กายปาคุฃฺฃตาจิตฺตปาคุฃฺฃตาโย กายปาคุญญตาและ           จิตตปาคุญญตาเหล่านั้น กายจิตฺตาน  เคลฺวูปสมลกฺขณา มีการเข้าไประงับความป่วยไข้แห่งกายและจิตเป็นลักษณะ.

          ๒๐๙. กายสฺส อุชุกภาโว กายุชุกตาฯ ตถา จิตฺตุชุกตาฯ ตา กายจิตฺตาน อาชฺชวลกฺขณาฯ
          อุชุกภาโว ความซื่อตรง กายสฺส แห่งกาย กายุชุกตา ชื่อว่า กายุชุกตา. ตถา เหมือนอย่างนั้น อุชุกภาโว ความซื่อตรง จิตฺตสฺส แห่งจิต จิตฺตุชุกตา ชื่อว่า ความซื่อตรงแห่งจิต. ตา กายุชุกตาจิตฺตุชุกตาโย กายชุกตาและจิตตุชุกตาเหล่านั้น กายจิตฺตานํ อาชฺชวลกฺขณา มีความซื่อตรงแห่งกายและจิตเป็นลักษณะ.

           ๒๑๐.ยถากฺกมมฺปเนตา กายจิตฺตาน สารมฺภาทิกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺ-านา ฯ  กาโยติ  เจตฺถ  เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส  คหณ  ฯ  ยสฺมา  เจเต เทฺว  เทฺว  ธมฺมา  เอกโต  หุตฺวา  ยถาสก  ปฏิปกฺขธมฺเม  หนนฺติ  ตสฺมา  อิเธว  ทุวิธตา  วุตฺตา  น  สมาธิอาทีสุ  ฯ 
          ปน ก็ [เอตา กายปสฺสทฺธิอาทโย ฉยุคลา] ธรรมทั้ง ๖ คู่เหล่านี้ มีกายปัสสัทธิและจิตตปัสสัทธิเป็นต้น  สารมฺภาทิกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺานา มีปัจจัยที่เป็นปฏิปักษ์ต่อความกำเริบแห่งธาตุ ที่กระทำความกระวนกระวายเป็นต้นแห่งกายและจิตเป็นสมุฏฐาน ยถากฺกมํ ตามลำดับ. อนึ่ง กาโย อิติ ปทํ บทว่า กาย เอตฺถ ในธรรมทั้ง ๖ คู่นี้ คหณํ เป็นการถือเอา เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส นามขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น. อนึ่ง เอเต เทฺว  เทฺว  ธมฺมา ธรรมแต่ละ ๒ เหล่านี้ เอกโต  หุตฺวา เป็นโดยความอันเดียวกัน หนนฺติ ย่อมกำจัด ปฏิปกฺขธมฺเม ซึ่งปฏิปักขธรรมทั้งหลาย ยถาสกํ ของตนตามสมควร ยสฺมา เพราะเหตุใด, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น ทุวิธตา ความเป็นธรรมมี ๒ อย่าง ภควตา วุตฺตา พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ อิธ เอว ในธรรมมีปัสสัทธิเป็นต้นนี้เท่านั้น , น วุตฺตา มิได้ตรัสไว้ สมาธิอาทีสุ ธมฺเมสุ ในธรรมอื่นมีสมาธิเป็นต้น.

          ๒๑๑. อปิจ จิตฺตปสฺสทฺธิอาทีหิ  จิตฺตสฺเสว  ปสฺสทฺธาทิภาโว  โหติ  กายปสฺสทฺธิอาทีหิ  ปน  รูปกายสฺสาปิ  ตสมุฏฺานปณีตรูปผรณวเสนาติ ตทตฺถสนฺทสฺสนตฺถฺเจตฺถ  ทุวิธตา  วุตฺตา  ฯ 
          อปิจ อีกนัยหนึ่ง ปสฺสทฺธาทิภาโว ภาวะที่ระงับเป็นต้น จิตฺตสฺส เอว แห่งจิตเท่านั้น โหติ ย่อมมี จิตฺตปสฺสทฺธิอาทีหิ ก็ด้วยจิตตปัสสัทธิเป็นต้นเท่านั้น, ปน ส่วน ปสฺสทฺธาทิภาโว ภาวะที่สงบเป็นต้น รูปกายสฺสาปิ แม้แห่งรูปกาย กายปสฺสทฺธิอาทีหิ ก็ด้วยกายปัสสัทธิเป็นต้น ตํสมุฏฺฅานปณีตรูปผรณวเสน เกี่ยวกับว่าเป็นการแผ่รูปอันประณีตอันมีกายปัสสัทธิเป็นต้นนั้นเป็นสมุฏฐาน อิติ เพราะเหตุนั้น ทุวิธตา ความเป็นธรรมมี ๒ อย่าง วุตฺตา ตรัสไว้ เอตฺถ ในธรรมมีปัสสัทธิเป็นต้นนี้ ตทตฺถสนฺทสฺสนตฺถํ เพื่อจะชี้ให้เห็นเนื้อความคือสภาวะที่รูปกายระงับแล้วเป็นต้นดังกล่าวมานั้น.

          ๒๑๒. โสภณาน  สพฺเพสมฺปิ สาธารณา นิยเมน เตสุ อุปฺปชฺชนโตติ                   โสภณสาธารณา ฯ
          เอเต เจตสิกา เจตสิก เหล่านี้ สาธารณา เป็นสาธารณะ โสภณานํ แก่โสภณจิต สพฺเพสมฺปิ แม้ทุกดวง อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้น เตสุ โสภเณสุ  ในโสภณจิตเหล่านั้น นิยเมน โดยแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น เต เจตสิกา เจตสิกเหล่านั้น  โสภณสาธารณา ชื่อว่า โสภณสาธารณะ.

           ๒๑๓. สมฺมา  วทนฺติ  เอตายาติ  สมฺมาวาจา  วจีทุจฺจริตวิรติ  ฯ สา  จตุพฺพิธา  มุสาวาทา เวรมณี  ปิสุณาวาจา  เวรมณี  ผรุสวาจา เวรมณี  สมฺผปฺปลาปา  เวรมณีติ  ฯ
          ปุคฺคลา บุคคล วทนฺติ ย่อมกล่าว สมฺมา โดยชอบ เอตาย วิรติยา ด้วยวิรัตินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น สา วิรติ  วิรัติ นั้น สมฺมาวาจา ชื่อว่า สัมมาวาจา ธรรมเป็นเครื่องกล่าวโดยชอบ,   วจีทุจฺจริตวิรติ ได้แก่ ความงดเว้นจากวจีทุจริต. สา วจีทุจฺจริตวิรติ ความงดเว้นจากวจีทุจริตนั้น จตุพฺพิธา ๔ อย่าง อิติ คือ มุสาวาทา เวรมณี ความงดเว้นจากการกล่าวคำเท็จ, ปิสุณาวาจา เวรมณี ความงดเว้นจากวาจาส่อเสียดยุยง, ผรุสวาจา เวรมณี ความงดเว้นจากวาจาหยาบคาย, สมฺผปฺปลาปา เวรมณี ความงดเว้นจากคำกล่าวเพ้อเจ้อ.

          ๒๑๔. กมฺมเมว  กมฺมนฺโต  สุตฺตนฺตวนนฺตาทโย  วิย  ฯ  สมฺมา  ปวตฺโต  กมฺมนฺโต  สมฺมากมฺมนฺโต กายทุจฺจริตวิรติ ฯ สา ติวิธา ปาณาติปาตา เวรมณี อทินฺนาทานา เวรมณี  กาเมสุมิจฺฉาจารา  เวรมณีติ  ฯ
          กมฺมํ เอว กัมมะนั้นนั่นเอง กมฺมนฺโต เป็นกัมมันตะ วิย เช่นเดียวกับ สุตฺตนฺต-วนนฺตาทโย คำว่า สุตฺตนฺต , วนนฺต เป็นต้น.  กมฺมนฺโต การกระทำ ปวตฺโต ซึ่งเป็นไป  สมฺมา โดยชอบ สมฺมากมฺมนฺโต ชื่อว่า สัมมากัมมันตะ การกระทำที่เป็นไปโดยชอบ  กายทุจฺจริตวิรติ ได้แก่ ความงดเว้นจากกายทุจริต. สา กายทุจฺจริตวิรติ  ความงดเว้นจากกายทุจริต ติวิธา มี ๓ ประการ อิติ คือ ปาณาติปาตา เวรมณี ความงดเว้นจากการฆ่าสัตว์, อทินฺนาทานา เวรมณี ความงดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้,  กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี ความงดเว้นจากความประพฤติมิชอบในกามคือเมถุน.

          ๒๑๕. สมฺมา อาชีวนฺติ เอเตนาติ สมฺมาอาชีโว มิจฺฉาชีววิรติฯ โส ปน อาชีวเหตุ-กายวจีทุจฺจริตโต วิรมณวเสน สตฺตวิโธ กุหนาลปนาทิมิจฺฉาชีววิรมณวเสน พหุวิโธ วา ฯ 
          สตฺตา สัตว์ทั้งหลาย อาชีวนฺติ ย่อมเลี้ยงชีพ สมฺมา โดยชอบ เอเตน ธมฺเมนด้วยธรรมนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น โส ธมฺโม ธรรมนั้น สมฺมาอาชีโว ชื่อว่า สัมมาอาชีวะ ธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีพชอบ มิจฺฉาชีววิรติ ได้แก่ ความงดเว้นจากมิจฉาชีพการเลี้ยงชีพผิด, ปน ก็ โส สมฺมาอาชีโว สัมมาอาชีวะนั้น สตฺตวิโธ มี ๗ ประการ วิรมณวเสน คือการงดเว้น อาชีวเหตุกายวจีทุจฺจริตโต จากกายทุจริตและวจีทุจริตที่เป็นเหตุแห่งอาชีวะ, วา อีกนัยหนึ่ง พหุวิโธ มีหลายประการ กุหนาลปนาทิมิจฺฉาชีววิรมณวเสน คือ การงดเว้นจากมิจฉาชีวะมีกุหนา การหลอกลวง, ลปนา การพูดไปต่างๆ เป็นต้น.

          ๒๑๖. ติวิธาปิ ปเนตา ปจฺเจก สมฺปตฺตสมาทานสมุจฺเฉทวิรติวเสน ติวิธา ฯ วิรติโย  นาม  ยถาวุตฺตทุจฺจริเตหิ วิรมณโต  ฯ
          ปน ก็ เอตา วิรติโย วิรัติเหล่านี้ ติวิธาปิ แม้ทั้งสามประการ ปจฺเจกํ แต่ละอย่าง  ติวิธา มี ๓ ประการ สมฺปตฺตสมาทานสมุจฺเฉทวิรติวเสน คือ สัมปัตตวิรัติ, สมาทานวิรัติและสมุจเฉทวิรัติ. [ ตา ตโย เจตสิกา เจตสิก ๓ เหล่านั้น] วิรติโย นาม  ชื่อว่า วิรัติ   วิรมณโต เพราะการงดเว้น ยถาวุตฺตทุจฺจริเตหิ จากทุจริตดังกล่าวมาแล้วนั้น.

          ๒๑๗. กโรติ  ปรทุกฺเข  สติ  สาธูน  หทยเขท  ชเนติ กิรติ  วา  วิกฺขิปติ  ปรทุกฺข  กิณาติ  วา  ต  หึสติ  กิริยติ วา  ทุกฺขิเตสุ  ปสาริยตีติ  กรุณา  ฯ สา ปรทุกฺขาปนยน-  กามตาลกฺขณา ฯ ตาย  หิ  ปรทุกฺข  อปนิยตุ  วา  มา  วา  ตทากาเรเนว สา  ปวตฺตติ  ฯ
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด ปรทุกฺเข เมื่อทุกข์ของผู้อื่น สติ มีอยู่ กโรติ ย่อมกระทำ คือ ย่อมยัง หทยเขทํ ความลำบากใจ ชเนติ ให้เกิดขึ้น สาธูนํ แก่สาธุชน, วา อีกอย่างหนึ่ง กิรติ ย่อมกระจาย วิกฺขิปติ คือ ย่อมซัดไป ปรทุกฺขํ ซึ่งทุกข์ของผู้อื่น, วา อีกอย่างหนึ่ง กิณาติ ย่อมซื้อ หึสติ คือ ย่อมกำจัด ตํ ปรทุกฺขํ ซึ่งทุกข์ของผู้อื่นนั้น, วา อีกอย่างหนึ่ง ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด ปุคฺคเลน อันบุคคล กิริยติ ย่อมเกลี่ย ปสาริยติ คือ ย่อมเหยียดออกไป ทุกฺขิเตสุ ในสัตว์ผู้ถึงทุกข์ อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น กรุณา ชื่อว่า กรุณา.  สา กรุณา กรุณานั้น   ปรทุกฺขาปนยนกามตาลกฺขณา   มีความเป็นผู้ใคร่จะขจัดทุกข์ของผู้อื่นเป็นลักษณะ, หิ จริงอยู่ ตาย กรุณาย อันกรุณานั้น อปนิยตุ วา จงขจัด ปรทุกฺขํ ทุกข์ของผู้อื่นได้หรือ วา มา อปนิยตุ หรือว่าจงขจัดไม่ได้ ก็ตาม, สา กรุณา กรุณานั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป  ตทากาเรน เอว โดยอาการที่จะขจัดทุกข์นั้นนั่นแหละ.

          ๒๑๘. โมทนฺติ  เอตายาติ  มุทิตา  ฯ  สา  ปรสมฺปตฺติอนุโมทนลกฺขณา  ฯ
          ปุคฺคลา บุคคล โมทนฺติ ย่อมยินดี เอตาย ธมฺมชาติยา ด้วยธรรมชาตินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น มุทิตา ชื่อว่า มุทิตา. สา มุทิตา มุทิตานั้น ปรสมฺปตฺติอนุโมทนลกฺขณา มีการตามยินดีซึ่งสมบัติแห่งผู้อื่นเป็นลักษณะ.
 
          ๒๑๙. อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา  อปฺปมาณา ฯ ตา  เอว  อปฺปมฺา ฯ
          นนุ  จ  จตสฺโส  อปฺปมฺาติ  วกฺขติ กสฺมา  ปเนตฺถ  เทฺวเยว  วุตฺตาติฯ   อโทสตตฺรมชฺฌตฺตตาหิ เมตฺตุเปกฺขาน คหิตตฺตาฯ อโทโสเยว หิ สตฺเตสุ หิตชฺฌาสยวสปฺปวตฺโต เมตฺตา  นามฯ ตตฺรมชฺฌตฺตตาว เตสุ ปฏิฆานุนยวูปสม-วสปฺปวตฺตา อุเปกฺขา นาม ฯ
          เอเต เทฺว เจตสิกา เจตสิก ๒ ดวงนี้ อปฺปมาณา ชื่อว่า อัปปมาณะ อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา เพราะมีสัตว์หาประมาณมิได้เป็นอารมณ์. ตา อปฺปมาณา เอว อัปปมาณะนั้นนั่นเอง อปฺปมฃฺฃา เป็นอัปปมัญญา.
          โจทนา ท้วง อิติ ว่า อาจริโย ท่านอาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว [นวมปริจฺเฉเท ในปริจเฉทที่ ๙] อิติ ว่า อปฺปฃฺฃา อัปปมัญญา จตสฺโส ๔ ดังนี้ นนุ จ มิใช่หรือ กสฺมา ปน ก็เพราะเหตุไร เทฺว เอว อปฺปมฃฺฃา อัปปมัญญา ๒ เท่านั้น วุตฺตา อันอาจารย์กล่าวแล้ว เอตฺถ [เจตสิกสรูปทสฺสนาธิกาเร ในหัวข้อว่าด้วยการแสดงจำแนกเจตสิก] นี้ ?
          ปริหาโร ตอบ อิติ ว่า เทฺว เอว อปฺปมฃฺฃา อัปปมัญญา ๒ เท่านั้น วุตฺตา อันอาจารย์กล่าวแล้ว เอตฺถ [เจตสิกสรูปทสฺสนาธิกาเร ในหัวข้อว่าด้วยการแสดงจำแนกเจตสิก] นี้ คหิตตฺตา เพราะความที่ - เมตฺตุเปกฺขานํ แห่งเมตตาและอุเบกขา - อันอาจารย์ถือเอาแล้ว อโทสตตฺรมชฺฌตฺตตาหิ ด้วยอโทสะและตัตตรมัชฌัตตตา. หิ เพราะว่า อโทโสเยว อโทสะนั่นแหละ หิตชฺฌาสยวสปฺปวตฺโต ซึ่งเป็นไปด้วยอำนาจความประสงค์อย่างยิ่งในประโยชน์เกื้อกูล สตฺเตสุ ในสัตว์ทั้งหลาย เมตฺตา  นาม ชื่อว่า เมตตา. ตตฺรมชฺฌตฺตตาว ตัตตรมัชฌัตตานั่นแหละ ปฏิฆานุนยวูปสมวสปฺปวตฺตา ซึ่งเป็นไปด้วยอำนาจแห่งการเข้าไประงับความยินร้ายและความยินดี เตสุ ในสัตว์ทั้งหลาย อุเปกฺขา นาม ชื่อว่า อุเบกขา.

          ๒๒๐. เตนาหุ โปราณา
                      อพฺยาปาเทน เมตฺตา                       หิ  ตตฺรมชฺฌตฺตตาย จ
                     อุเปกฺขา คหิตา ยสฺมา                      ตสฺมา น คหิตา อุโภติ ฯ
          เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ อาหุ กล่าวแล้ว อิติ ว่า
                              หิ อันที่จริง เมตฺตา เมตตา ภควตา คหิตา พระผู้มีพระภาค ทรงถือเอาแล้ว อพฺยาปาเทน ด้วยความไม่พยาบาท, จ แต่ อุเปกฺขา อุเบกขา ภควตา คหิตา ทรงถือเอาแล้ว ตตฺตมชฺฌตฺตตาย ด้วยตัตตรมัชฌัตตา ยสฺมา เพราะเหตุใด, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น อุโภ ธรรมทั้งสองนี้  อาจริเยน ท่านอาจารย์ น คหิตา จึงไม่ถือเอา.

          ๒๒๑. ปกาเรน  ชานาติ  อนิจฺจาทิวเสน  อวพุชฺฌตีติ  ปฺา  ฯ  สา เอว ยถาสภาวาวโพธเน  อธิปจฺจโยคโต  อินฺทฺริยนฺติ  ปฺินฺทฺริย  ฯ
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด ชานาติ ย่อมรู้ ปกาเรน โดยประการ อวพุชฺฌติ ย่อมหยั่งรู้ อนิจฺจาทิวเสน โดยเกี่ยวกับลักษณะทั้งสามมีความไม่เที่ยงเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น สาธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น ปฃฺฃา ชื่อว่า ปัญญา. สา ปฃฺฃา ปัญญานั้นนั่นแหละ อินฺทฺริยํ เป็นอินทรีย์ อธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ยถาสภาวาวโพธเน  ในการหยั่งรู้ตามสภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น สา ปฃฺฃา ปัญญานั้น ปฃฺฃินฺทริยํ ชื่อว่า ปัญญินทรีย์.

          ๒๒๒. อถ  สฺาวิฺาณปฺาน  กินฺนานากรณนฺติ  ฯ  สฺา  ตาว   นีลาทิวเสน  สฺชานนมตฺต  กโรติ  ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ  กาตุ  น สกฺโกติ  ฯ  วิฺาณ  ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ  สาเธติ  อุสฺสกฺเกตฺวา ปน  มคฺค  ปาเปตุ  น  สกฺโกติ  ฯ  ปฺา  ปน  ติวิธมฺปิ  กโรติ  ฯ พาลคามิกเหรฺิกาน  กหาปณาวโพธนเมตฺถ  นิทสฺสนนฺติ  ฯ
          โจทนา ท้วง อิติ ว่า อถ  ภาเว สนฺเต เมื่อความเป็นอย่างนี้ มีอยู่,  กึ อะไรเล่า นานากรณํ เป็นเหตุสร้างความต่างกัน สฺาวิฺาณปฺาณ แห่งสัญญา วิญญาณและปัญญา ดังนี้.
          ปริหาโร แก้ อิติ ว่า ตาว ก่อนอื่น สฺา  สัญญา กโรติ ย่อมกระทำ สฺชานนมตฺต เพียงสักว่าการจำได้   นีลาทิวเสน โดยเกี่ยวกับเป็นสีมีสีเขียวเป็นต้น  น สกฺโกติ  ย่อมไม่สามารถ กาตุ  เพื่อทำ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ แม้ซึ่งการแทงตลอดลักษณะ. วิฺาณ  วิญญาณ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ  แม้ยังการแทงตลอดซึ่งลักษณะ สาเธติ  ให้สำเร็จได้ ปน แต่ น  สกฺโกติ ไม่อาจ  ปาเปตุ  เพื่ออัน -  อุสฺสกฺเกตฺวา ขวนขวาย - แล้วให้ถึง มคฺค  มรรค [อุทยพฺพยาทิฃาณปฏิปาฏิยา โดยลำดับแห่งญาณมีอุทยัพพยญาณเป็นต้นได้]. ปน ส่วน ปฺา  ปัญญา  กโรติ ย่อมทำ ติวิธมฺปิ แม้กิจทั้งสามได้.  เอตฺถ ฅาเน ในเรื่องนี้ กหาปณาวโพธนํ  การหยั่งรู้เหรียญกษาปน์ พาลคามิกเหรฺิกาน ของเด็ก, บุรุษชาวบ้านและเหรัญญิก นิทสฺสนํ เป็นนิทัสสนะ อิติ ฉะนี้แล.

          ๒๒๓. าณวิปฺปยุตฺตสฺาย  เจตฺถ  อาการคฺคหณวเสน  อุปฺปชฺชนกาเล วิฺาณ อพฺโพหาริก  ฯ  เสสกาเล  เอว  วิฺาณ  พลว  ฯ  าณสมฺปยุตฺตา ปน  อุโภปิ  ตทนุคติกา  โหนฺติ  ฯ
          อนึ่ง เอตฺถ สฃฺฃาวิฃฺฃาณปฃฺฃาสุ ในสัญญาวิญญาณและปัญญานี้ อุปฺปชฺชนกาเล ในกาลเป็นที่เกิดขึ้น อาการคฺคหณวเสน โดยเกี่ยวกับการจับเอาอาการ [อารมฺมณสฺส แห่งอารมณ์]    าณวิปฺปยุตฺตสฺาย แห่งสัญญาอันวิปยุตด้วยญาณวิฃฺฃาณํ วิญญาณ อพฺโพหาริกํ เป็นอัพโพหาริก (เว้นจากการกล่าว). เสสกาเล เอว ในกาลที่เหลือเท่านั้น วิฃฺฃาณํ วิญญาณ พลวํ จึงมีกำลัง.  ปน ส่วน อุโภปิ สัญญาและวิญญาณแม้ทั้งสอง ญาณสมฺปยุตฺตา อันสัมปยุตด้วยญาณ โหนฺติ ย่อมเป็นธรรมชาติ ตทุนคติกา มีความเป็นไปคล้อยตามญาณนั้น.


          ๒๒๔. สพฺพถาปิ  ปฺจวีสตีติ  สมฺพนฺโธ  ฯ
          สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า สพฺพถาปิ ปฃฺจวีสติ แปลว่า โสภณเจตสิกก็เป็น ๒๕ แม้โดยประการทั้งปวง.

         ๒๒๕. เตรสฺสมานาติอาทีหิ ตีหิ ราสีหิ วุตฺตาน สงฺคโห ฯ
         เตรสฺสมานาติอาทีหิ ด้วยคำว่าอัญญาสมานาเจตสิกเป็นต้น สงฺคโห เป็นคาถารวบรวม วุตฺตานํ เทฺวปฃฺฃาสเจตสิกานํ ซึ่งเจตสิกทั้ง ๕๒ อันอาจารย์กล่าวมาแล้ว ตีหิ ราสีหิ โดยธรรม ๓ หมวด.

โสภณเจตสิกวณฺณนา นิฏฺฅิตา.
โสภณเจตสิกวณฺณนา การอธิบายโสภณเจตสิก นิฏฺฅิตา จบแล้ว.


˜v

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น