สงฺคหนยวณฺณนา
สงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัย
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
นโย นัย อิติอาทิ
มีว่า ฉตฺตึส ธรรม ๓๖ อันบัณฑิตย่อมได้ในอนุตรจิต เป็นต้น คณนสงฺคโห
เป็นการสงเคราะห์จำนวนนับ ลพฺภมานกธมฺมวเสน โดยเนื่องด้วยธรรมที่ได้ ตตฺถ
ตตฺถ ในจิตนั้นๆ ยถารหํ ตามควร.
๒๔๔. ปฐมชฺฌาเน นิยุตฺตานิ
จิตฺตานิ, ตํ วา เอเตสํ อตฺถีติ ปฐมชฺฌานิกจิตฺตานิฯ อปฺปมญฺญานํ สตฺตารมฺมณตฺตา, โลกุตฺตรานญฺจ นิพฺพานารมฺมณตฺตา
วุตฺตํ ‘‘อปฺปมญฺญาวชฺชิตา’’ติฯ ‘‘ตถา’’ติ อิมินา อญฺญสมานา, อปฺปมญฺญาวชฺชิตา โสภนเจตสิกา จ สงฺคหํ
คจฺฉนฺตีติ อากฑฺฒติฯ อุเปกฺขาสหคตาติ วิตกฺกวิจารปีติสุขวชฺชา สุขฏฺฐานํ ปวิฏฺฐอุเปกฺขาย
สหคตาฯ ปญฺจกชฺฌานวเสนาติ วิตกฺกวิจาเร วิสุ ํ วิสุ ํ
อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส นาติติกฺขญาณสฺส วเสน เทสิตสฺส
ฌานปญฺจกสฺส วเสนฯ เต ปน เอกโต อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส
ติกฺขญาณสฺส วเสน เทสิตจตุกฺกชฺฌานวเสน ทุติยชฺฌานิเกสุ วิตกฺกวิจารวชฺชิตานํ
สมฺภวโต จตุธา เอว สงฺคโห โหตีติ อธิปฺปาโยฯ
จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย นิยุตฺตานิ
ที่ประกอบแล้ว ปฅมชฺฌาเน ในปฐมฌาน,
วา อีกนัยหนึ่ง ตํ ปฅมชฺฌานํ ปฐมฌานนั้น อตฺถิ มีอยู่ เอเตสํ
จิตฺตานํ แก่จิตเหล่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตานิ จิตฺตานิ
จิตเหล่านั้น ปฅมชฺฌานิกจิตฺตานิ ชื่อว่า ปฐมฌานิกจิต จิตที่ประกอบในปฐมฌาน
หรือจิตที่มีปฐมฌาน.
อาจริเยน
ท่านอาจารย์ วุตฺตํ กล่าว อปฺปมฃฺฃาวชฺชิตา อิติ วจนํ คำว่า จิตที่เว้นจากอัปปมัญญา สตฺตารมฺมณตฺตา
จ เพราะความที่ - อปฺปมฃฺฃานํ แห่งอัปปมัญญา -
มีสัตว์เป็นอารมณ์, นิพฺพานารมฺมณตฺตา จ และเพราะความที่ - โลกุตฺตรานํแห่งโลกุตรจิต -
มีพระนิพพานเป็นอารมณ์.
ตถา อิติ
อิมินา
ด้วยบทว่า ตถา อาจริโย ท่านอาจารย์ อากฑฺฒติ ย่อมชัก(ใจความ) อิติ
ว่า อฃฺฃสมาตา จ อัญญสมานาเจตสิก, อปฺปมฃฺฃาวชฺชิตา โสภณเจตสิกา
จ และโสภณเจตสิกเว้นอัปปมัญญา คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์
ดังนี้มา.
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า ธรรมที่เว้นจากวิตก วิจาร ปีติ และสุข สหคตา ซึ่งสหรคต ปวิฏฺฅอุเปกฺขาย
ด้วยอุเบกขา ที่เข้าถึงฐานะแห่งสุข (เข้าไปแทนที่สุข) ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ
ว่า อุเปกฺขาสหคตา ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า วเสน โดยความเกี่ยวข้องกัน ปฃฺจกชฺฌานสฺส แห่งฌานทั้ง ๕ เทสิตสฺส
ซึ่งทรงแสดงไว้ วเสน โดยความเกี่ยวข้องกัน นาติติกฺขฃาณสฺส แห่งพระโยคีผู้มีปัญญาไม่แก่กล้านัก
ภาเวนฺตสฺส ที่ทำฌานให้เกิด อติกฺกมิตฺวา โดยก้าวล่วง วิตกฺกวิจาเร
ซึ่งวิตกและวิจารทั้งหลาย วิสุ วิสุ ได้ทีละอย่าง ดังนี้ ปทสฺส
แห่งบท ปญฺจกชฺฌานวเสน ว่า โดยเนื่องด้วยปัญจกฌาน
(ฌาน ๕) ดังนี้. อธิปฺปาโย อธิบาย อิติ ว่า ปน
แต่ว่า เทสิตจตุกฺกชฺฌานวเสน โดยความเกี่ยวข้องกันแห่งจตุกกฌาน (ฌาน ๔)
ที่ทรงแสดงไว้ วเสน โดยความเกี่ยวข้องกัน ติกฺขฃาณสฺส แห่งพระโยคีผู้มีปัญญาแก่กล้า
ภาเวนฺตสฺส ผู้ทำให้ฌานเกิด อติกฺกมิตฺวา โดยก้าวล่วง เต
วิตกและวิจารเหล่านั้น เอกโต โดยคราวเดียวกัน, สงฺคโห สังคหนัย โหติ
ย่อมมี จตุธา เอว เพียง ๔ เท่านั้น สมฺภวโต เพราะ- วิตกฺกวิจารวชฺชิตานํ
ธรรม( ๓๔ คืออัญญสมานา-เจตสิก)ที่เว้นวิตกและวิจาร - เกิด ทุติยชฺฌานิเกสุ
ในโลกุตรจิต ๘ ที่ประกอบใน ทุติยฌาน
ดังนี้.
๒๔๕. เตตฺติ ํสทฺวยํ จตุตฺถปญฺจมชฺฌานจิตฺเตสุฯ
เตตฺตึสทฺวยํ
ธรรม ๓๓
สองครั้ง สิยา พึงมึ จตุตฺถปฃฺจมชฺฌานจิตฺเตสุ ในจิตที่มีจตุตถฌานครั้งหนึ่งและในปัญจมฌานครั้งหนึ่ง.
v
มหคฺคตจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
มหคฺคตจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัยในมหัคคตจิต
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
๒๔๖. ตีสูติ กุสลวิปากกิริยวเสน ติวิเธสุ สีลวิสุทฺธิวเสน
สุวิโสธิตกายวจีปโยคสฺส เกวลํ จิตฺตสมาธานมตฺเตน มหคฺคตชฺฌานานิ ปวตฺตนฺติ, น ปน
กายวจีกมฺมานํ วิโสธนวเสน, นาปิ
ทุจฺจริตทุราชีวานํ สมุจฺฉินฺทนปฏิปฺปสฺสมฺภนวเสนาติ
วุตฺตํ ‘‘วิรติวชฺชิตา’’ติฯ ปจฺเจกเมวาติ วิสุ วิสุเยวฯ ปนฺนรสสูติ รูปาวจรวเสน ตีสุ, อารุปฺปวเสน ทฺวาทสสูติ
ปนฺนรสสุฯ อปฺปมญฺญาโย น ลพฺภนฺตีติ เอตฺถ การณํ วุตฺตเมวฯ
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า กุสลวิปากิริยวเสน ติวิเธสุ ในบรรดามหัคคตธรรม ๓ ประการ กุสลวิปากกิริยวเสน
คือที่เป็นกุศล วิบากและกิริยา ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า ตีสุ
ในจิตที่ประกอบในปฐมฌาน ๓ ดวง.
มหคฺคตชฺฌานานิ มหัคคตฌาน ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป
จิตฺตสมาธานมตฺเตน โดยสักว่าเป็นความตั้งมั่นแห่งจิต เกวลํ อย่างเดียว
สุวิโสธิตกายวจีปโยคสฺส แก่พระโยคีผู้มีกายปโยคและวจีปโยคที่ตนชำระดีแล้ว สีลวิสุทฺธิวเสน
ด้วยอำนาจของ สีลวิสุทธิ, ปน แต่ น มิได้ ปวตฺตนฺติ เป็นไป วิโสธนวเสน
โดยเกี่ยวกับเป็นการชำระ กายวจีกมฺมานํ ซึ่งกายกรรมและวจีกรรม, นาปิ
อีกทั้งมิได้ ปวตฺตนฺติ เป็นไป สมุจฺฉินฺทนปสฺสมฺภนวเสน โดยเกี่ยวเป็นการละได้เด็ดขาดและความสงบระงับ
ทุจฺจริตทุราชีวานํ
ซึ่งทุจริตและการเลี้ยงชีพผิด อิติ เพราะเหตุนั้น วจนํ คำ อิติ
ว่า วิรติวชฺชิตา เว้นวิรตี
ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวแล้ว.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า วิสุ
วิสุ เอว เป็นอย่างๆ นั่นเทียว ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า
ปจฺเจกเมว เป็นแต่ละอย่างนั่นเทียว ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า ปนฺนรสสุ ในจิตที่ประกอบในปัญจมฌาน ๑๕ อิติ คือ ตีสุ
ในธรรม ๓ รูปาวจวเสน ที่เป็นรูปาวจร, ทฺวาทสสุ ในธรรม ๑๒ อารุปฺปวเสน
ที่เป็นอรูปาวจร ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า ปนฺนรสสุ
ในจิตที่ประกอบในปัญจมฌาน ๑๕ ดวง.
การณํ เหตุ เอตฺถ
ในคำว่า อปฺปมฃฺฃาโย น ลพฺภนฺติ อัปปมัญญา ย่อมไม่ได้ ดังนี้ มยา
อันเรา วุตฺตํ ได้แล้ว เอว นั่นเทียว.
มหคฺคตจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
นิฏฺฐิตาฯ
มหคฺคตจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัยในมหัคคตจิต นิฏฺฐิตา
จบแล้ว
v
กามาวจรโสภนจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
กามาวจรโสภณจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัยในกามาวจรโสภณจิต
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
๒๔๗. ปจฺเจกเมวาติ เอเกกาเยวฯ อปฺปมญฺญานํ หิ สตฺตารมฺมณตฺตา, วิรตีนญฺจ
วีตกฺกมิตพฺพวตฺถุวิสยตฺตา นตฺถิ ตาสํ เอกจิตฺตุปฺปาเท สมฺภโวติฯ
โลกิยวิรตีนํ เอกนฺต-กุสลสภาวตฺตา นตฺถิ อพฺยากเตสุ สมฺภโวติ วุตฺตํ ‘‘วิรติวชฺชิตา’’ติฯ เตนาห ‘‘ปญฺจสิกฺขาปทากุสลาเยวา’’ติ ฯ
อิตรถา สทฺธาสติอาทโย วิย ‘‘สิยา กุสลา, สิยา อพฺยากตา’’ติ
วเทยฺยฯ ผลสฺส ปน มคฺคปฏิพิมฺพภูตตฺตา, ทุจฺจริตทุราชีวานํ
ปฏิปฺปสฺสมฺภนโต จ น โลกุตฺตรวิรตีนํ เอกนฺตกุสลตา
ยุตฺตาติ ตาสํ ตตฺถ อคฺคหณํฯ กามาวจรวิปากานมฺปิ เอกนฺตปริตฺตารมฺมณตฺตา, อปฺปมญฺญานญฺจ
สตฺตารมฺมณตฺตา, วิรตีนมฺปิ เอกนฺต-กุสลตฺตา วุตฺตํ ‘‘อปฺปมญฺญาวิรติวชฺชิตา’’ติฯ
นนุ จ ปญฺญตฺตาทิอารมฺมณมฺปิ
กามาวจรกุสลํ โหตีติ ตสฺส วิปาเกนปิ กุสลสทิสารมฺมเณน ภวิตพฺพํ ยถา
ตํ มหคฺคตโลกุตฺตรวิปาเกหีติ? นยิทเมวํ, กามตณฺหาธีนสฺส ผลภูตตฺตาฯ ยถา หิ
ทาสิยา ปุตฺโต มาตรา อิจฺฉิตํ กาตุ ํ อสกฺโกนฺโต สามิเกเนว
อิจฺฉิติจฺฉิตํ กโรติ, เอวํ กามตณฺหายตฺตตาย ทาสิสทิสสฺส กามาวจรกมฺมสฺส วิปากภูตํ จิตฺตํ เตน
คหิตารมฺมณํ อคฺคเหตฺวา กามตณฺหารมฺมณเมว คณฺหาตีติฯ
ทฺวาทสธาติ กุสลวิปากกิริยเภเทสุ
ปจฺเจกํ จตฺตาโร จตฺตาโร ทุกาติ กตฺวา ตีสุ ทฺวาทสธา.
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า เอเกกาเยว เป็นแต่ละอย่างๆ นั่นแหละ ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท
อิติ ว่า ปจฺเจกเมว ดังนี้. หิ จริงอยู่ สมฺภโว
ความเกิดขึ้น เอกจิตฺตุปฺปาเท ในจิตตุปบาทเดียวกัน ตาสํ
แห่งอัปปมัญญาและวิรตีเหล่านั้น นตฺถิ ย่อมไม่มี สตฺตารมฺมณตฺตา จ เพราะความที่
- อปฺปมฃฺฃานํ อัปปมัญญาทั้งหลาย - มีสัตว์เป็นอารมณ์, วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุวิสยตา จ
และเพราะความที่ - วิรตีนํ แห่งวิรตีทั้งหลาย - มีอารมณ์ที่ วิรตีจะพึงก้าวล่วงเป็นอารมณ์ อิติ
ฉะนี้แล.
สมฺภโว
ความเกิดขึ้น ตาสํ โลกิยวิรตีนํ แห่งโลกียวิรตี อพฺยากเตสุ
ในอัพพยากตจิต นตฺถิ ย่อมไม่มี เอกนฺตกุสลสภาวตฺตา เพราะความที่ ตาสํ
แห่งวิรตีเหล่านั้น - มีสภาวะเป็นกุศลอย่างเดียว อิติ เพราะเหตุนั้น วจนํ
คำ อิติ ว่า วิรติวชฺชิตา ที่เว้นวิรตี ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์
วุตฺตํ กล่าวไว้แล้ว. เตน เพราะเหตุนั้น ภควา พระผู้มีพระภาค
อาห จึงตรัส อิติ ว่า ปฃฺจสิกฺขาปทา กุสลาเยว แปลว่า ปฃฺจสิกฺขาปทาสิกขาบท
๕ กุสลาเยว เป็นกุศล อย่างเดียว ดังนี้. [ยทิ ถ้าว่า] อิตรถา
ประการอย่างอื่น โลกิยวิรติโย คือ โลกิยวีรตี อเนกนฺตกุสลา ไม่เป็นกุศลอย่างเดียว
วิย เหมือนอย่างกับ สทฺธาสติอาทโย ธรรมอื่นมีสัทธาและสติเป็นต้น ภควา
พระผู้มีพระภาค วเทยฺย พึงตรัส สิกฺขาปทวิภงฺเค ในสิกขาบทวิภังค์ อิติว่า
[สิกฺขาปทา สิกขาบท ปญฺจ ๕] กุสลา
เป็นกุศล สิยา ในบางคราว, อพฺยากตา เป็นอัพยากตะ สิยา ในบางคราว ดังนี้.
ปน แต่ว่า เอกนฺตกุสลตา
ความที่ - โลกุตฺตรวิรตีนํ แห่งวิรตีอันเป็นโลกุตระ - เป็นกุศลโดยส่วนเดียว
น ยุตฺตา ไม่ถูกต้อง มคฺคปฏิพิมฺพภูตตฺตา จ เพราะความที่ ผลสฺส
แห่งผลเป็นธรรมที่เปรียบได้กับมรรค ปฏิปฺปสฺสมฺภนโต จ และเพราะความที่ - ผลสฺส
ผล- เป็นธรรมที่เข้าไปสงบระงับ ทุจฺจริตทุราชีวานํ ซึ่งทุจริตและการเลี้ยงชีพ
อิติ เพราะเหตุนั้น อคฺคหณํ
จึงไม่ทรงถือเอา ตาสํ ซึ่งโลกุตรวิรตีเหล่านั้น ตตฺถ ในสิกขาปทวิภังค์นั้น.
วจนํ คำ อิติ
ว่า อปฺปมฃฺฃาวิรติวชฺชิตา ที่เว้นอัปปมัญญาและวิรตี ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ
กล่าวไว้แล้ว เอกนฺตปริตฺตารมฺมณตฺตา จ เพราะความที่
- กามาวจรวิปากานมฺปิ แม้แห่งกามาวจรวิบาก มีอารมณ์เป็นกามธรรมโดยส่วนเดียว,
สตฺตารมฺมณตฺตา จ และเพราะความที่ - อปฺปมญฺญานํ แห่งอัปปมัญญา
- มีสัตว์เป็นอารมณ์, เอกนฺตกุสลตฺตา จ.และความที่ - วิรตีนมฺปิ แม้แห่งวิรตีทั้งหลาย
- มีความเป็นกุศลโดยส่วนเดียว.
โจทนา
ท้วง อิติ ว่า จ ก็ กามาวจรกุสลํ กามาวจรกุศล ปญฺญตฺตาทิอารมฺมณมฺปิ แม้ที่มีอารมณ์เป็นบัญญัติธรรมเป็นต้น โหติ ย่อมมี
นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น วิปาเกนปิ แม้วิบาก ตสฺส
ของกุศลนั้น กุสลสทิสารมฺมเณน ภวิตพฺพํ พึงมี อารมณ์เช่นเดียวกับกุศลนั้น ยถาตํ
ราวกับ มหคฺคตโลกุตฺตรวิปาเกหิปิ แม้วิบากอันเป็นมหัคคตและโลกุตระ ? ดังนี้
ปริหาโร
แก้ อิติ ว่า อิทํ ข้อนี้ น เอวํ เป็นเหมือนอย่างนั้น
หามิได้, ผลภูตตฺตา เพราะความที่ - กามาวจรกุสลวิปากสฺส แห่งวิบากแห่งกามาวจรกุศลนั้น
- มีความเป็นผล กามตณฺหาธีนสฺส
แห่งธรรมอันอาศัยกามตัณหา
หิ เหมือนอย่างว่า ปุตฺโต
บุตร ทาสิยา แห่งนางทาสี
อสกฺโกนฺโต ไม่อาจอยู่ กาตุ ํ เพื่ออันกระทำ
อิจฺฉิตํ ซึ่งกิจ -มาตรา อันมารดา - ประสงค์แล้ว กโรติ
ย่อมกระทำ อิจฺฉิติจฺฉิตํ กรรมอัน - สามิเกน อันนาย - ทั้งปรารถนาแล้วและปรารถนาแล้ว
ยถา ฉันใด, จิตฺตํ จิต วิปากภูตํ ที่เป็นวิบาก
กามาวจรกมฺมสฺส แห่งกามาวจรกรรม ทาสิสทิสสฺส ที่เป็นเช่นเดียวกับนางทาสี กามตณฺหายตฺตตาย
เพราะความเป็นแห่งธรรมอันอาศัยนับเนื่องกับกามตัณหา อคฺคเหตฺวา ไม่ถือเอาแล้ว
คหิตารมฺมณํ ซึ่งอารมณ์ เตน กามาวจรกมฺเมน อันกามาวจรกรรมนั้นถือเอาแล้ว คณฺหาติ
ย่อมถือเอา กามตณฺหารมฺมณํ เอว ซึ่งอารมณ์แห่งกามตัณหาเท่านั้น เอวํ ฉันนั้น
ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า ทฺวาทสธา
โดย ๑๒ ประการ ในจิตเหล่านั้น กตฺวา เพราะกระทำ [อธิปฺปายํ ซึ่งความประสงค์อย่างนี้] อิติ
คือ ปจฺเจกํ แต่ละประเภท กุสลวิปากกิริยเภเทสุ ในประเภทแห่งกุศล,
วิบากและกิริยา ทุกา มีทุกะ จตฺตาโร จตฺตาโร ละ ๔ ดังนี้ ปทสฺส
แห่งบท อิติ ว่า ทฺวาทสธา โดย ๑๒ ประการ ดังนี้.
๒๔๘. อิทานิ อิเมสุ ปฐมชฺฌานิกาทีหิ ทุติยชฺฌานิกาทีนํ
เภทกรธมฺเม ทสฺเสตุ ํ ‘‘อนุตฺตเร ฌานธมฺมา’’ตฺยาทิ วุตฺตํฯ อนุตฺตเร จิตฺเต
วิตกฺกวิจารปีติสุขวเสน ฌานธมฺมา วิเสสกา เภทกาฯ มชฺฌิเม มหคฺคเต
อปฺปมญฺญา, ฌานธมฺมา จฯ ปริตฺเตสุ กามาวจเรสุ
วิรตี, ญาณปีตี จ อปฺปมญฺญา จ วิเสสกา, ตตฺถ วิรตี กุสเลหิ วิปากกิริยานํ วิเสสกา, อปฺปมญฺญา กุสลกิริเยหิ
วิปากานํ, ญาณปีตี ปน ตีสุ ปฐมยุคฬาทีหิ ทุติยยุคฬาทีนนฺติ ทฏฺฐพฺพํฯ
อิทานิ บัดนี้ วจนํ คำ อิติอาทิ
เป็นต้นว่า อนุตฺตเร ฌานธมฺมา ในอนุตรจิตมีฌานธรรมทั้งหลาย
อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้ ทสฺเสตุ เพื่ออันแสดง อิเมสุ
ในบรรดาเจตสิกธรรมเหล่านี้ เภทกรธมฺเม ซึ่งธรรมที่สร้างความต่างกัน ทุติยชฺฌานิกาทีนํ
แห่งจิตที่ประกอบในทุติยฌานเป็นต้น ปฐมชฺฌานิกาทีหิ
จากจิตที่ประกอบในปฐมฌานเป็นต้น.
ฌานธมฺมา ฌานธรรม วิตกฺกวิจารปีติสุขวเสน คือ วิตก วิจาร ปีติ และสุข วิเสสกา = เภทกา เป็นธรรมที่สร้างความต่างกัน
อนุตฺตเร จิตฺเต ในอนุตรจิต.
อปฺปมฃฺฃา
จ อัปปมัญญา
ด้วย ฌานธมฺมา จ ฌานธรรม ด้วย เภทกา เป็นธรรมที่สร้างความต่างกัน
มชฺฌิเม = มหคฺคเต ในมหัคคตจิต.
วิรตี จ วิรตี, ญาณปีติ จ ปัญญาและปีติ อปฺปมญฺญา จ ปละอัปปมัญญา ด้วย วิเสสกา
เป็นธรรมที่สร้างความแปลกกัน ปริตฺเตสุ = กามาวจเรสุ ในกามาวจรจิต.
ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็น อิติ ว่า ตตฺถ
ในธรรมทั้งหลายมีวิรตีเป็นต้นเหล่านั้น วิรตี
วิรตี วิเสสกา เป็นธรรมสร้างความต่างกัน วิปากกิริยานํ
แห่งวิบากจิตและกิริยาจิต กุสเลหิ จากกุศลจิต, อปฺปมฃฺฃา อัปปมัญญา วิเสสกา
เป็นธรรมสร้างความต่างกัน วิปากานํ
แห่งวิบากจิต กุสลกิริเยหิ จากกุศลจิตและกิริยาจิต, ปน ส่วน ตีสุ
ในบรรดากามาวจรจิตทั้ง ๓ ประเภท นั้น ฃานปีติ ปัญญาและปีติ วิเสสกา
เป็นธรรมสร้างความต่างกัน ทุติยยุคฬาทีนํ แห่งจิตคู่ที่ ๒ เป็นต้น ปฅมยุคฬาทีหิ
จากจิตคู่ที่ ๑ เป็นต้น.
กามาวจรโสภนจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
นิฏฺฐิตาฯ
กามาวจรโสภณจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
อธิบายสังคหนัยในกามาวจรโสภณจิต
นิฏฺฅิตา จบแล้ว.
v
อกุสลจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
อกุสลจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัยในอกุศลจิต
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๒๔๙. ทุติเย
อสงฺขาริเกติ
ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก โลภมาเนน ตเถว อญฺญสมานา, อกุสลสาธารณา
จ เอกูนวีสติ ธมฺมาติ สมฺพนฺโธฯ
สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺเต
อสงฺขาริเก โลภมาเนน ตเถว อญฺญสมานา, อกุสลสาธารณา
จ เอกูนวีสติ ธมฺมา แปลว่า เอกูนวีสติ ธมฺมา ธรรม ๑๙ ตเถว อย่างนั้นนั่นแหละ อันได้แก่ อฃฺฃสมานา
จ อัญญสมานาเจตสิก
๑๓, อกุสลสาธารณา จ อกุศลสาธารณเจตสิก ๔ โลภมาเนน
พร้อมด้วยโลภะและมานะ (คจฺฉนฺติ ถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์เข้า) อสงฺขาริเก
ในอสังขาริกจิต ทิฏฺฅิวิปฺปยุตฺเต
ที่วิปยุตด้วยทิฏฐิ ดังนี้ ปททฺวเยสุ ในสองบท อิติ ว่า ทุติเย อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิต
ดวงที่ ๒ ดังนี้.
๒๕๐. ตติเยติ
อุเปกฺขาสหคตทิฏฺฐิสมฺปยุตฺเต อสงฺขาริเกฯ
ปทํ บท อิติ ว่า ตติเย ตติเย
ดังนี้ อสงฺขาริเก คือ ในอสังขาริกจิต อุเปกฺขาสหคตทิฏฺฐิสมฺปยุตฺเต
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยทิฏฐิ.
๒๕๑. จตุตฺเถติ ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺเต
อสงฺขาริเกฯ
ปทํ บท อิติ ว่า จตุตฺเถ
จตุตฺเถ อสงฺขาริเก คือ ในอสังขาริกจิต ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺเต
ที่วิปยุตด้วยทิฏฐิ.
๒๕๒. อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺจานิ
ปเนตฺถ ปจฺเจกเมว โยเชตพฺพานิ ภินฺนารมฺมณตฺตาเยวาติ
อธิปฺปาโยฯ
อธิปฺปาโย อธิบาย อิติ ว่า ปน
แต่ เอตฺถ ปฺจเม ปฏิฆสมฺปยุตฺเต
อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตซึ่งสัมปยุตด้วยปฏิฆะ ดวงที่ ๕ นี้ อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺจานิ อิสสามัจฉริยะและกุกกุจจะ
โยเชตพฺพานิ อันบัณฑิต พึงประกอบ ปจฺเจกํ เอว ไว้เป็นอย่างๆ
นั่นเทียว ภินฺนารมฺมณตฺตา เอว เพราะความที่มีอารมณ์ต่างกันนั่นเทียว.
๒๕๓. อธิโมกฺขสฺส นิจฺฉยาการปฺปวตฺติโต
เทฺวฬฺหกสภาเว วิจิกิจฺฉาจิตฺเต สมฺภโว นตฺถีติ ‘‘อธิโมกฺขวิรหิตา’’ติ วุตฺตํฯ
สมฺภโว ความเกิดขึ้น (อธิโมกฺขสฺส
แห่งอธิโมกข์) วิจิกิจฺฉาจิตฺเต ในจิตที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉา เทฺวฬฺหกสภาเว
ซึ่งมีความเป็นไปโดยประการสองเป็นสภาวะ นตฺถิ ย่อมไม่มี นิจฺฉยาการปฺปวตฺติโต
เพราะความที่ - อธิโมกฺขสฺส แห่งอธิโมกข์ - เป็นไปโดยอาการที่ตัดสิน อิติ
เพราะเหตุนั้น วจนํ คำ อิติ ว่า อธิโมกฺขวิรหิตา เว้นจากอธิโมกข์
ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้.
๒๕๔. เอกูนวีสติ ปฐมทุติยอสงฺขาริเกสุ, อฏฺฐารส
ตติยจตุตฺถอสงฺขาริเกสุ, วีส ปญฺจเม อสงฺขาริเก, เอกวีส ปฐมทุติยสสงฺขาริเกสุ, วีสติ ตติยจตุตฺถสสงฺขาริเกสุ, ทฺวาวีส ปญฺจเม สสงฺขาริเก, ปนฺนรส
โมมูหทฺวเยติ เอวํ อกุสเล สตฺตธา ฐิตาติ โยชนาฯ
โยชนา การประกอบความ [อิมิสฺสํ คาถายํ ในคาถา นี้ อิติ ว่า
เอกูนวีสฏฺารส วีเสกวีส
วีสติ
พาวีส
ปณฺณรสาติ สตฺตธากุสเล ิตา]
อิติ ว่า เอกูนวีสติ ปฐมทุติยอสงฺขาริเกสุ, อฏฺฐารส
ตติยจตุตฺถอสงฺขาริเกสุ, วีส ปญฺจเม อสงฺขาริเก, เอกวีส
ปฐมทุติยสสงฺขาริเกสุ, วีสติ ตติยจตุตฺถสสงฺขาริเกสุ, ทฺวาวีส ปญฺจเม สสงฺขาริเก, ปนฺนรส
โมมูหทฺวเย (แปลว่า
สตฺตธา สังคหนัย ๗ นัย ฅิตา ตั้งอยู่ อกุสเล ในอกุศลจิต
เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ เอกูนวีสติ ธมฺมา ธรรม ๑๙ ฅิตา
ตั้งอยู่ ปฅมทุติยอสงฺขาริเกสุ ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๑ และ ที่ ๒, อฏฺฅารส
ธมฺมา ธรรม ๑๘ ฅิตา ตั้งอยู่ ตติยจตุตฺถอสงฺขาริเกสุ
ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๓ และ ที่ ๔, วีส ธมฺมา ธรรม ๒๐ ฅิตา ตั้งอยู่
ปฃฺจเม อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๕, เอกวีส ธมฺมา ธรรรม ๒๑ ฅิตา
ตั้งอยู่ ปฐมทุติยสสงฺขาริเกสุ
ในสสังขาริกจิตดวงที่ ๑ และที่ ๒, วีสติ ธมฺมา ธรรม ๒๐ ฅิตา
ตั้งอยุ่ ตติยจตุตฺถสสงฺขาริเกสุ ในสสังขาริกจิตดวงที่ ๓ และที่ ๔, ทฺวาวีส ธมฺมา ธรรม ๒๒ ฅิตา
ตั้งอยู่ ปฃฺจเม สสงฺขาริเก ในสสังขาริกจิตดวงที่ ๕, ปณฺณรส ธมฺมา
ธรรม ๑๕ ฅิตา ตั้งอยู่ โมมูหทฺวเย ในโมมูหจิตทั้งสองดวง ดังนี้.
๒๕๕. สาธารณา อกุสลานํ สพฺเพสเมว สาธารณภูตา จตฺตาโร
สมานา จ ฉนฺทปีติอธิโมกฺขวชฺชิตา
อญฺญสมานา อปเร ทสาติ เอเต จุทฺทส ธมฺมา สพฺพากุสลโยคิโนติ
ปวุจฺจนฺตีติ โยชนาฯ
โยชนา
ประกอบความ [อิมิสฺสํ คาถายํ ในคาถานี้
อิติ ว่า
สาธารณา
จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร
จุทฺทเสเต
ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุสลโยคิโน]
อิติ ว่า สาธารณา อกุสลานํ
สพฺเพสเมว สาธารณภูตา จตฺตาโร สมานา จ ฉนฺทปีติอธิโมกฺขวชฺชิตา
อญฺญสมานา อปเร ทสาติ เอเต จุทฺทส ธมฺมา สพฺพากุสลโยคิโนติ
ปวุจฺจนฺติ.
(แปลว่า ธมฺมา ธรรม จุทฺทส ๑๔ เอเต เหล่านี้ อิติ คือ
จตฺตาโร ธมฺมา จ ธรรม ๔ สาธารณา ที่สาธารณะ สาธารณภูตา คือว่า
ที่เป็นธรรมอันทั่วไป อกุสลานํ แก่อกุศลทั้งหลาย สพฺเพสํ เอว
ทั้งปวงนั่นเทียว สมานา ธมฺมา และธรรมที่เสมอกัน อฃฺฃสมานา คือว่า อัญญสมานาเจตสิก
อปเร เหล่าอื่น ทส ๑๐ ฉนฺทปีติอธิโมกฺขวชฺชิตา ที่เว้นฉันทะ
ปีติ และอธิโมกข์ ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต ปวุจฺจนฺติ ย่อมเรียก อิติ ว่า
สพฺพากุสลโยคิโน สัพพากุสลโยคี ธรรมที่ประกอบในอกุศลจิตได้ทุกดวง) ดังนี้.
อกุสลจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
นิฏฺฐิตาฯ
อกุสลจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
อธิบายสังคหนัยในอกุศลจิต นิฏฺฅิตา จบแล้ว.
v
อเหตุกจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
อเหตุกจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา
อธิบายสังคหนัยในอเหตุกจิต
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๒๕๖. ‘‘ตถา’’ติ อิมินา อญฺญสมาเน ปจฺจามสติฯ
อาจริโย ท่านอาจารย์ ปจฺจามสติ ย่อมระบุถึง
อญฺญสมาเน อัญญสมานาเจตสิก
อิมินา ด้วยบทนี้ อิติ ว่า ตถา อย่างนั้น ดังนี้.
๒๕๗. มโนวิญฺญาณธาตุยา
วิย วิสิฏฺฐมนนกิจฺจาโยคโต มนนมตฺตา ธาตูติ มโนธาตุฯ อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเฬติ อุเปกฺขาสนฺตีรณทฺวเยฯ
ธาตุ ธาตุ (สภาวะ) มนนมตฺตา
ที่เป็นเพียงสักว่ารู้ (อารมณ์) เท่านั้น วิสิฏฺฅมนนกิจฺจาโยคโต
เพราะไม่ประกอบด้วยกิจคือการรู้ที่พิเศษ วิย เหมือน โยโค การประกอบ วิสิฏฺฅชานนกิจฺเจน
ด้วยกิจคือการรู้ที่พิเศษ อารมฺมณสฺส ซึ่งอารมณ์ มโนวิฃฺฃาณ-ธาตุยา แห่งมโนวิญญาณธาตุ อิติ เพราะเหตุนั้น มโนธาตุ
จึงเรียกว่า มโนธาตุ.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า อุเปกฺขาสนฺตีรณทฺวเย
ในอุเบกขาสันตีรณทั้งสอง ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเฬ
ในอเหตุกปฏิสนธิทั้งคู่ ดังนี้.
๒๕๘. ทฺวาทส หสนจิตฺเต, เอกาทส
โวฏฺฐพฺพนสุขสนฺตีรเณสุ, ทส มโนธาตุตฺติกา-เหตุกปฏิสนฺธิยุคฬวเสน ปญฺจสุ, สตฺต
ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณสูติ อฏฺฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห จตุพฺพิโธ
โหตีติ โยชนาฯ
โยชนา ประกอบความ [อิมิสฺสํ
คาถายํ
ในคาถานี้ อิติ ว่า
ทฺวาทเสกาทส
ทส สตฺต
จาติ จตุพฺพิโธ
อฏฺารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ
สงฺคโห]
อิติ ว่า ทฺวาทส หสนจิตฺเต, เอกาทส
โวฏฺฐพฺพนสุขสนฺตีรเณสุ, ทส มโนธาตุตฺติกา-เหตุกปฏิสนฺธิยุคฬวเสน ปญฺจสุ, สตฺต
ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณสูติ อฏฺฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห จตุพฺพิโธ
โหติ (แปลว่า สงฺคโห สังคหนัย จตุพฺพิโธ ๔ นัย โหติ ย่อมมี จิตฺตุปฺปาเทสุ
ในจิตตุปบาท อเหตุเกสุ ที่เป็นอเหตุกะ อฏฺฅารส ๑๘ อิติ คือ ทฺวาทส ธมฺมา ธรรม ๑๒ โหนฺติ ย่อมมี หสนจิตฺเต
ในหสิตุปปาทจิต, เอกาทส ธมฺมา ธรรม ๑๑ โหนฺติ ย่อมมี โวฏฺฐพฺพนสุขสนฺตีรเณสุ ในโวฏฐัพพนะและโสมนัสสันตีรณจิต,
ทส ธมฺมา ธรรม ๑๐ โหนฺติ ย่อมมี ปญฺจสุ อเหตุกจิต
๕ ดวง มโนธาตุตฺติกา-เหตุกปฏิสนฺธิยุคฬวเสน คือ มโนธาตุ ๓ อเหตุกปฏิสนธิทั้งคู่
, สตฺต ธมฺมา ธรรม ๗ โหนฺติ ย่อมมี ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณสุ ในทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐) ดังนี้.
๒๕๙. เตตฺตึสวิธสงฺคโหติ อนุตฺตเร ปญฺจ, ตถา
มหคฺคเต, กามาวจรโสภเน ทฺวาทส, อกุสเล
สตฺต, อเหตุเก จตฺตาโรติ เตตฺตึสวิธสงฺคโหฯ
อตฺโถ อรรถ อิติ
ว่า เตตฺตึสวิธสงฺคโห สังคหนัย ๓๓ นัย อิติ คือ สงฺคหา ปฃฺจ
สังคหนัย ๕ โหนฺติ ย่อมมี อนุตฺตเร ในอนุตรจิต, ตถา เหมือนอย่างนั้น
คือ สงฺคหา ปฃฺจ สังคหนัย ๕ โหนฺติ ย่อมมี มหคฺคเต
ในมหัคคตจิต, สงฺคหา ทฺวาทส สังคหนัย ๑๒ โหนฺติ ย่อมมี กามาวจรโสภเน
ในกามาวจรโสภณจิต, สงฺคหา สตฺต สังคหนัย ๗ โหนฺติ ย่อมมี อกุสเล ในอกุศลจิต,
สงฺคหา จตฺตาโร สังคหนัย ๔ โหนฺติ ย่อมมี อเหตุเก ในอเหตุกจิต ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท
อิติ ว่า เตตฺตึสวิธสงฺคโห สังคหนัย ๓๓ ดังนี้.
๒๖๐. อิตฺถํ ยถาวุตฺตนเยน จิตฺตาวิยุตฺตานํ เจตสิกานํ
จิตฺตปริจฺเฉทวเสน วุตฺตํ สมฺปโยคญฺจ เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน
วุตฺตํ สงฺคหญฺจ ญตฺวา ยถาโยคํ
จิตฺเตน สมํ เภทํ อุทฺทิเส ‘‘สพฺพจิตฺตสาธารณา ตาว สตฺต เอกูนนวุติจิตฺเตสุ
อุปฺปชฺชนโต ปจฺเจกํ เอกูนนวุติวิธา, ปกิณฺณเกสุ วิตกฺโก ปญฺจปญฺญาสจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชนโต ปญฺจปญฺญาส-วิโธ’’ตฺยาทินา
กเถยฺยาติ อตฺโถฯ
ปณฺฑิโต บัณฑิต ฃตฺวา
ทราบแล้ว สมฺปโยคฃฺจ ซึ่งสัมปโยคนัย วุตฺตํ ที่ตรัสไว้ จิตฺตปริจฺเฉทวเสน
โดยเกี่ยวกับการกำหนดเอา สงฺคหฃฺจ และสังคหนัย วุตฺตํ ที่ตรัสไว้ เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน
โดยเกี่ยวกับการกำหนดเอากองแห่งเจตสิก เจตสิกานํ แห่งเจตสิก จิตฺตาวิยุตฺตานํ
อันเป็นธรรมที่ไม่แยกออกจากจิต อิตฺถํ อย่างนี้ ยถาวุตฺต-นเยน
คือว่า โดยนัยดังกล่าวมาแล้ว อุทฺทิเส พึงแสดง เภทํ ประเภท สมํ
ให้เท่ากัน จิตฺเตน ด้วยจิต ยถาโยคํ
ตามควรแก่การประกอบได้
อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า ปณฺฑิโต
บัณฑิต กเถยฺย พึงกล่าว อิติอาทินา โดยนัยเป็นต้น ว่า ตาว ก่อนอื่น
สพฺพจิตฺตสาธารณา สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สตฺต ๗ ปจฺเจกํ แต่ละดวง
เอกูนนวุติวิธา มี ๘๙ ดวง อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดได้ เอกูนนวุติจิตฺเตสุ ในจิต ๘๙ ดวง, ปกิณฺณเกสุ ในบรรดาปกิณณกเจตสิก
วิตกฺโก วิตก ปญฺจปญฺญาส- วิโธ มี ๕๕ ดวงอุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดได้
ปญฺจปญฺญาสจิตฺเตสุ ในจิต ๕๕ ดังนี้.
อเหตุกจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
อเหตุกจิตฺตสงฺคหนยวณฺณนา อธิบายสังคหนัยในอเหตุกจิต นิฏฺฅิตา จบแล้ว.
อิติ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม
อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย
เจตสิกปริจฺเฉทวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
เจตสิกปริจฺเฉทวณฺณนา
อธิบายปริจเฉทว่าด้วยเจตสิก
อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในปกรณ์ที่อธิบายปกรณ์อภิธัมมัตถสังคหะ
อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม
อันมีนามว่า อภิธัมมัตถวิภาวินี
นิฏฺฅิตา จบแล้ว
อิติ ด้วยประการฉะนี้แล.
....
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น