วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๑

อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ
ปกรณารมฺภคาถา

อภิธัมมัตถสังคหบาลี
คาถาเริ่มต้นปกรณ์

สมฺมาสมฺพุทฺธมตุลํ             สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ
อภิวาทิย ภาสิสฺสํ               อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ฯ
อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) อภิวาทิย ถวายอภิวาทแล้ว สมฺมาสมฺพุทฺธํ ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อตุลํ ทรงไม่มีผู้เปรียบเทียบด้วยพระปัญญา สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ พร้อมทั้งพระสัทธรรมและหมู่พระอริยสงฆ์สูงส่ง ภาสิสฺสํ จักกล่าว อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ซึ่งปกรณ์อภิธัมมัตถสังคหะ.

๑. อภิธัมมัตถสังคหะและวิภาวินีฎีกา อธิบายคาถาเริ่มปกรณ์

อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ
ปกรณารมฺภคาถา

อภิธัมมัตถสังคหบาลี
คาถาเริ่มต้นปกรณ์
สมฺมาสมฺพุทฺธมตุลํ             สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ
อภิวาทิย ภาสิสฺสํ               อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ฯ
อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) อภิวาทิย ขอถวายอภิวาทสมฺมาสมฺพุทฺธํ ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อตุลํ ทรงไม่มีผู้เปรียบเทียบด้วยพระปัญญา สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ พร้อมทั้งพระสัทธรรมและหมู่พระอริยสงฆ์สูงส่ง ภาสิสฺสํ แล้วจักกล่าว อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ซึ่งปกรณ์อภิธัมมัตถสังคหะ.

**********

๒. อภิธัมมัตถสังคหะและวิภาวินี - อธิบายลักษณะทั่วไปของปรมัตถธรรม ๔

อภิธมฺมตฺถสงฺคโห จตุปรมตฺถธมฺโม
ตตฺถ วุตฺตาภิธมฺมตฺถา,                       จตุธา ปรมตฺถโต
จิตฺตํ เจตสิกํ รูปํ,                       นิพฺพานมิติ สพฺพถาฯ

แสดงปรมัตถธรรม ๔
อภิธมฺมตฺถา อรรถในพระอภิธรรม ภควตา อันพระผู้มีพระภาค วุตฺตา ตรัสแล้ว สพฺพถา โดยประการทั้งปวง ปรมตฺถโต โดยปรมัตถ์ ตตฺถ ในอภิธรรมปิฎกนั้น จตุธา = จตูหากาเรหิ ฐิตา ดำรงอยู่โดย  ๔ ส่วน อิติ = เอวํ  อย่างนี้ คือ จิตฺตํ จิต, เจตสิกํ เจตสิก รูปํ รูป นิพฺพานํ พระนิพพาน.

********

๓ อภิธมฺมตฺถสังคหะและวิภาวินีฎีกา แปล - ๑. ภูมิเภทจิตฺตํ จำแนกจิตโดยประเภทแห่งภูมิและอกุศลจิต ๑๒ ดวง

อภิธมฺมตฺถสงฺคห
๑. จิตฺตปริจฺเฉโท ปริจเฉทที่ ๑ จิตปริจเฉท
ภูมิเภทจิตฺตํ จำแนกจิตโดยประเภทแห่งภูมิ
. ตตฺถ จิตฺตํ ตาว จตุพฺพิธํ โหติ กามาวจรํ รูปาวจรํ อรูปาวจรํ โลกุตฺตรญฺเจติฯ
ตตฺถ จตุปรมตฺถธมฺเมสุ ในปรมัตถธรรม ๔ นั้น จิตฺตํ จิต โหติ ย่อมมี จตุพฺพิธํ = จตุปฺปการํ มี ๔ พวกโดยความเหมือนกัน อิติ คือ กามาวจรํ กามาวจรจิต จิตที่ชื่อว่า กามาวจร รูปาวจรํ จิตที่ชื่อว่า รูปาวจร,   อรูปาวจรํ จิตที่ชื่อว่า อรูปาวจร, โลกุตฺตรํ จ และจิตที่ชื่อว่า โลกุตระ.