สังคหนัย
โสภเณสุ ปน
โสภณสาธารณา ตาว เอกูนวีสติ เจตสิกา สพฺเพสุปิ เอกูนสฏฺิโสภณจิตฺเตสุ
สมฺปยุชฺชนฺติ ฯ วิรติโย
ปน ติสฺโสปิ อฏฺสุ โลกุตฺตรจิตฺเตสุ สพฺพถาปิ นิยตา
เอกโตว ลพฺภนฺติ ฯ โลกิเยสุ
ปน กามาวจรกุสเลเสฺวว กทาจิ สนฺทิสฺสนฺติ วิสุ
วิสุ ฯ อปฺปมฺาโย ปน
ทฺวาทสสุ ปฺจมชฺฌานวชฺชิตมหคฺคตจิตฺเตสุ
เจว กามาวจรกุสเลสุ จ สเหตุกกามาวจรกฺริยาจิตฺเตสุ จาติ อฏฺวีสติจิตฺเตเสฺวว กทาจิ
นานา หุตฺวา ชายนฺติ ฯ อุเปกฺขาสหคเตสุ ปเนตฺถ กรุณามุทิตา น สนฺตีติ เกจิ วทนฺติฯ ปฺา ปน ทฺวาทสสุ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรจิตฺเตสุ
เจวสพฺเพสุปิ ปฺจตฺตึสมหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺเตสุ
จาติ สตฺตจตฺตาฬีสจิตฺเตสุ สมฺปโยค คจฺฉตีติ ฯ
ปน
ส่วน โสภเณสุ ในบรรดาโสภณเจตสิกทั้งหลาย
ตาว ก่อนอื่น โสภณสาธารณา
เอกูนวีสติ เจตสิกา
โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ สมฺปยุชฺชนฺติ ประกอบ เอกูนสฏฺิโสภณจิตฺเตสุ
ในโสภณจิต ๕๙ สพฺเพสุปิ แม้ทั้งปวง.
ปน
ส่วน วิรติโย ติสฺโสปิ วิรติเจตสิแม้ทั้ง
๓ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิตย่อมได้ อฏฺสุ โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตรจิต ๘ เอกโตว
โดยความเป็นอันเดียวกันนั่นเทียว นิยตา แน่นอน สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง. ปน แต่ โลกิเยสุ ในโลกิยจิตทั้งหลาย
สนฺทิสฺสนฺติ ย่อมปรากฏ กามาวจรกุสเลเสฺวว
เฉพาะในกามาวจรกุศลเท่านั้น กทาจิ ในกาลบางคราว วิสุ วิสุ แยกกัน ฯ
ปน
อนึ่ง อปฺปมฺาโย อัปปมัญญา
ชายนฺติ ย่อมเกิด กทาจิ
ในกาลบางคราว นานา หุตฺวา เป็นธรรมชาติแยกกัน อฏฺวีสติจิตฺเตเสฺวว
ในจิต ๒๘ ดวงเท่านั้น อิติ คือ ทฺวาทสสุ ปฺจมชฺฌานวชฺชิตมหคฺคตจิตฺเตสุ เจว
ในมหัคคตจิต เว้นปัญจมฌาน ๑๒ ดวง กามาวจรกุสเลสุ
จ ในกามาวจรกุศลจิต สเหตุก-กามาวจรกฺริยาจิตฺเตสุ จ และในสเหตุกกามาวจรกิริยาจิต
ปน
ก็ เอตฺถ กามาวจรจิตฺเตสุ ในบรรดากามาวจรจิตเหล่านี้ เกจิ อาจารย์บางท่าน วทนฺติ กล่าว อิติ
ว่า กรุณามุทิตา กรุณาและมุทิตา น
สนฺติ ย่อมไม่มี อุเปกฺขาสหคเตสุ
ในอุเบกขาสหคตจิต ฯ
ปน
อนึ่ง ปฺา ปัญญา คจฺฉติ ย่อมถึง
สมฺปโยค ซึ่งการประกอบร่วมกัน สตฺตจตฺตาฬีสจิตฺเตสุ ในจิต ๔๗ ดวง อิติ
คือ ทฺวาทสสุ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรจิตฺเตสุ เจว ในกามาวจรญาณสัมปยุตจิต ๑๒ สพฺเพสุปิ
ปฺจตฺตึสมหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺเตสุ จ และในมหัคคตจิตทั้งโลกุตรจิต
๓๕ ดวง แม้ทั้งปวง อิติ ฉะนี้แล ฯ
เอกูนวีสติ
ธมฺมา ชายนฺเตกูนสฏฺิย
ตโย
โสฬสจิตฺเตสุ อฏฺวีสติย ทฺวย ฯ
ปฺา ปกาสิตา
สตฺต- จตฺตาฬีสวิเธสุปิ
สมฺปยุตฺตา
จตุเธว โสภเณเสฺวว โสภณา ฯ
อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจ- วิรติกรุณาทโย
นานา กทาจิ มาโน
จ ถีนมิทฺธ
ตถา สห ฯ
ยถาวุตฺตานุสาเรน เสสา
นิยตโยคิโน
โสภณา โสภณเจตสิก สมฺปยุตฺตา ประกอบ โสภเณสุ เอว
ในโสภณจิตเท่านั้น จตุธา โดย ๔ ประการ เอวํ อย่างนี้ คือ ธมฺมา
ธรรม เอกูนวีสติ ๑๙ ชายนฺเต
ย่อมเกิด เอกูนสฏฺฅิยํ
ในจิต ๕๙, ตโย ธรรม ๓ ชายนฺเต ย่อมเกิด โสฬสจิตฺเตสุ ในจิต
๑๖ ทฺวยํ หมวด ๒ แห่งธรรม ชายเต ย่อมเกิด อฏฺฅวีสติยํ ในจิต
๒๘ ปฃฺฃา ปัญญา ปกาสิตา ทรงประกาศแล้ว สตฺตจตฺตาฬีสวิเธสุปิ แม้ในจิต ๔๗ ดวง. ธมฺมา
ทั้งหลาย อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจวิรติกรุณาทโย
มีอิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรตีและกรุณาเป็นต้น ชายนฺติ ย่อมเกิดขึ้น นานา
แยกจากกัน กทาจิ ในบางคราว. จ และ มาโน
มานะ ชายติ ย่อมเกิด กทาจิ ในบางคราว. ตถา อนึ่ง ถีนมิทฺธํ
ถีนมิทธะ ชายติ ย่อมเกิด สห ร่วมกัน กทาจิ ในบางคราว. เสสา ธรรมที่เหลือ
นิยตโยคิโน มีการประกอบเป็นประจำ ยถาวุตฺตานุสาเรน ตามทำนองที่กล่าวแล้ว.
สงฺคหฺจ
ปวกฺขามิ เตสนฺทานิ ยถารห ฯ
ฉตฺตึสานุตฺตเร
ธมฺมา ปฺจตฺตึส
มหคฺคเต
อฏฺตฺตึสาปิ
ลพฺภนฺติ กามาวจรโสภเณ ฯ
สตฺตวีสตฺยปฺุมฺหิ ทฺวาทสาเหตุเกติ จ
ยถาสมฺภวโยเคน ปฺจธา
ตตฺถ สงฺคโห ฯ
จ อนึ่ง อิทานิ บัดนี้ อหํ ข้าพเจ้า ปวกฺขามิ จะกล่าว สงฺคหํ
ซึ่งสังคหนัย เตสํ เจตสิกานํ แห่งเจตสิกเหล่านั้น ยถารหํ
ตามสมควร. จ ก็ สงฺคโห สังคหะ ก็การสงเคราะห์ ตตฺถ ในเจตสิกเหล่านั้น ปฃฺจธา
โดยประการ ๕ ยถาสมฺภวโยเคน ตามประกอบตามควรแก่การเกิดขึ้น อิติ คือ ธมฺมา
ธรรม ฉตฺตึส ๓๖ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิต ย่อมได้ อนุตฺตเร ในอนุตรจิต, ปฃฺจตฺตึส ธรรม ๓๕ ลพฺภนฺติ
อันบัณฑิต ย่อมได้ มหคฺคเต
ในมหัคคตจิต, อฏฺฅตฺตึสาปิ แม้ธรรม ๓๘ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิต ย่อมได้ กามาวจรโสภเณ
ในกามาวจรโสภณจิต, สตฺตวีสติ
ธรรม ๒๗ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิต ย่อมได้ อปุฃฺฃมฺหิ ในอกุศลจิต, ทฺวาทส ธรรม ๑๒ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิตย่อมได้ อเหตุเก
ในอเหตุกจิต.
กถ ฯ โลกุตฺตเรสุ
ตาว อฏฺสุ ปมชฺฌานิกจิตฺเตสุ
อฺสมานา เตรส เจตสิกา
อปฺปมฺาวชฺชิตา เตวีสติ
โสภณเจตสิกา เจติ ฉตฺตึส ธมฺมา
สงฺคห คจฺฉนฺติ ฯ ตถา
ทุติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ วิตกฺกวชฺชาฯ
ตติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ วิตกฺกวิจารวชฺชาฯ
จตุตฺถชฺฌานิกจิตฺเตสุ
วิตกฺกวิจารปีติวชฺชา ฯ ปฺจมชฺฌานิกจิตฺเตสุ อุเปกฺขาสหคตา เต เอว
สงฺคยฺหนฺติ ฯ
สพฺพถาปิ อฏฺสุ โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ปฺจกชฺฌานวเสน ปฺจธาว
สงฺคโห โหตีติ ฯ
สงฺคโห การสงเคราะห์ เตสํ
เจตสิกานํ เจตสิกเหล่านั้น เตสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย กถํ
อย่างไร ?
ตาว
ก่อนอื่น โลกุตฺตเรสุ ในโลกุตรจิตทั้งหลาย
ฉตฺตึส
ธมฺมา ธรรม ๓๖ อิติ คือ อฺสมานา เตรส เจตสิกา จ อัญญสมานาเจตสิก
๑๓ อปฺปมฺาวชฺชิตา เตวีสติ
โสภณเจตสิกา จ โสภณเจตสิก ๒๓ เว้นอัปปมัญญา คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์ อฏฺสุ ปมชฺฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบกับปฐมฌาน ๘ ดวง.
ตถา ธรรมเหล่านั้นคือเจตสิก ๓๖ ดังกล่าวข้างต้น
วิตกฺกวชฺชา ที่เว้นจากวิตก (เหลือ ๓๕) คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ
ซึ่งการสงเคราะห์ ทุติยฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบกับทุติยฌาน.
ตถา
ธรรมเหล่านั้น วิตกฺกวิจารวชฺชา ที่เว้นจากวิตกและวิจาร (เหลือ ๓๓) คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ
ซึ่งการสงเคราะห์ ตติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ
ในจิตที่ประกอบกับ ตติยฌาน.
เต เอว ธรรม ๓๓ เหล่านั้นนั่นแหละ อุเปกฺขาสหคตา ที่สหรคตด้วยอุเบกขา สงฺคยฺหนฺติ
ถูกสงเคราะห์ ปฺจมชฺฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบกับปัญจมฌาน.
อฏฺสุ
โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตรจิต ๘ ดวง โหติ ย่อมมี สงฺคโห
สังคหนัย ปฺจธาว ๕
นัยนั่นเทียว ปฺจกชฺฌานวเสน โดยเนื่องด้วยฌานทั้ง ๕ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง อิติ ดังนี้แล.
ฉตฺตึส
ปฺจตึสาถ จตุตฺตึส ยถากฺกม
เตตฺตึสทฺวยมิจฺเจว ปฺจธานุตฺตเร
ิตา ฯ
อถ อนึ่ง เต เจตสิกธรรมเหล่านั้น ิตา ตั้งอยู่
อนุตฺตเร ในอนุตรจิต ปฃฺจธา โดยประการ ๕ อิติ เอวํ อย่างนี้ คือ
ฉตฺตึส ธรรม ๓๖ ปฺจตึส ธรรม
๓๕,จตุตฺตึส ธรรม ๓๔ เตตฺตึสทฺวยํ
หมวด ๒ แห่งธรรม ๓๓ (คือ ธรรม ๓๓ และธรรม ๓๓ อีกครั้งหนึ่ง) ยถากฺกม
ตามลำดับ.
มหคฺคเตสุ
ปน ตีสุ ปมชฺฌานิกจิตฺเตสุ ตาว อฺสมานา เตรส เจตสิกา วิรติวชฺชา พาวีสติ โสภณเจตสิกา เจติ ปฺจตฺตึส ธมฺมา สงฺคห
คจฺฉนฺติฯ กรุณา มุทิตา
ปเนตฺถ ปจฺเจกเมว โยเชตพฺพา ฯ
ตถา ทุติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ วิตกฺกวชฺชา
ฯ ตติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ
วิตกฺกวิจารวชฺชา ฯ จตุตฺถชฺฌานิกจิตฺเตสุ วิตกฺกวิจารปีติวชฺชาฯ ปฺจมชฺฌานิก-จิตฺเตสุ ปณฺณรสสุ
อปฺปมฺาโย น ลพฺภนฺติฯ สพฺพถาปิ
สตฺตวีสติมหคฺคตจิตฺเตสุ ปฺจกชฺฌานวเสน ปฺจธาว สงฺคโห
โหตีติ ฯ
ปน
ส่วน มหคฺคเตสุ ในบรรดามหัคคตจิตทั้งหลาย ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ปฃฺจตฺตึส ๓๕ อิติ คือ อฃฺฃสมานา
เตรส เจตสิกา อัญญสมานเจตสิก ๑๓ วิรติวชฺชา พาวีสติ โสภณเจตสิกา โสภณเจตสิก ๒๒
เว้นวิรตี คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ
ซึ่งการนับรวม ตึสุ ปฅมชฺฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบในปฐมฌาน ๓๐. ปน แต่ว่า กรุณามุทิตา
กรุณาและมุทิตา โยเชตพฺพา บัณฑิตพึงประกอบ ปจฺเจกํ เอว
ทีละดวงเท่านั้น เอตฺถ ในจิตที่เกิดในปฐมฌานนี้.
ตถา
ธรรมทั้งหลายอย่างนั้น วิตกฺกวชฺชา เว้นวิตก คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการนับรวม ทุติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ
ในจิตที่ประกอบในทุติยฌาน.
ตถา ธรรมทั้งหลายอย่างนั้น วิตกฺกวิจารวชฺชา
ที่เว้นจากวิตกและวิจาร คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการนับรวม ตติยชฺฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบในตติยฌาน.
ตถา ธรรมทั้งหลายอย่างนั้น วิตกฺกวิจารปีติวชฺชา
ที่เว้นจากวิตก วิจารและปีติ คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการนับรวม
จตุตฺถชฺฌานิกจิตฺเตสุ ในจิตที่ประกอบในจตุตถฌาน.
อปฺปมฃฺฃาโย อัปมัญญา น ลพฺภนฺติ
อันบัณฑิตย่อมไม่ได้ ปฺจมชฺฌานิกจิตฺเตสุ
ปณฺณรสสุ ในจิต ๑๕
ดวงที่ประกอบในปัญจมฌาน.
สงฺคโห สังคหนัย
โหติ ย่อมมี ปฺจธาว ๕ นัยนั่นเทียว ปฺจกชฺฌานวเสน
เนื่องด้วยฌาน ๕ สตฺตวีสติมหคฺคตจิตฺเตสุ ในมหัคคตจิต ๒๗ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง
อิติ ฉะนี้แล.
ปฺจตฺตึส
จตุตฺตึส เตตฺตึสาถ ยถากฺกม
ทฺวตฺตึส เจว
ตึสาติ ปฺจธาว
มหคฺคเต ฯ
อถ อนึ่ง สงฺคโห
สังคหนัย ปญฺจธาว ๕ นัยนั่นเทียว อิติ คือ ปฃฺจตฺตึส จ ๓๕ , จตุตฺตึส
จ ๓๔, ทฺวตฺตึส เจว ๓๒ ตึส
จ และ ๓๐ ยถากฺกมํ ตามลำดับ ฅิตา ตั้งอยู่ มหคฺคเต
ในมหัคคตจิต.
กามาวจรโสภเณสุ ปน
กุสเลสุ ตาว ปมทฺวเย าณสมฺปยุตฺเต อฺสมานา เตรส เจตสิกา
ปฺจวีสติ โสภณเจตสิกา เจติ อฏฺตฺตึส
ธมฺมา สงฺคห คจฺฉนฺติ
ฯ อปฺปมฺาวิรติโย ปเนตฺถ ปฺจปิ
ปจฺเจกเมว โยเชตพฺพา ฯ ตถา
ทุติยทฺวเย ญาณวชฺชิตา
ฯ ตติยทฺวเย าณสมฺปยุตฺเต
ปีติวชฺชิตา ฯ จตุตฺถทฺวเย าณปีติวชฺชิตา เต
เอว สงฺคยฺหนฺติ ฯ
กฺริยาจิตฺเตสุปิ วิรติวชฺชิตา ตเถว จตูสุปิ
ทุเกสุ จตุธา สงฺคห
คจฺฉนฺติ ฯ ตถา วิปาเกสุ
จ อปฺปมฺาวิรติวชฺชิตา เต
เอว สงฺคยฺหนฺติ ฯ สพฺพถาปิ
จตุวีสติกามาวจรโสภณจิตฺเตสุ
ทุกวเสน ทฺวาทสธาว สงฺคโห โหตีติ ฯ
ปน ก็ กามาวจรโสภเณสุ
ในบรรดากามาวจรโสภณจิตทั้งหลาย ตาว ก่อนอื่น กุสเลสุ
ในกุศลจิต ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ๓๘ อิติ คือ อฺสมานา เตรส เจตสิกา จ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ปฺจวีสติ
โสภณเจตสิกา จ และโสภณเจตสิก ๒๕ คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์
าณสมฺปยุตฺเต ในญาณสัมปยุตจิต ปมทฺวเย สองดวงแรก. ปน แต่ เอตฺถ ในจิต ๒
ดวงนี้ อปฺปมฃฺฃาวิรติโย อัปมัญญาและวิรตี ปฃฺจปิ แม้ทั้ง ๕ โยเชตพฺพา อันบัณฑิตพึงประกอบ ปจฺเจกํ
เอว ทีละดวงเท่านั้น.
ตถา
ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ก็เหมือนกัน ฃาณวชฺชิตา ที่เว้นจากญาณ คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ
ซึ่งการสงเคราะห์ ทุติยทฺวเย ในกุศลจิตสองดวงที่ ๒.
ตถา
ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ปีติวชฺชิตา ที่เว้นจากปีติ คจฺฉนฺติ ย่อมถึง
สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์ ตติยทฺวเย
าณสมฺปยุตฺเต ในญาณสัมปยุตจิต ๒ ดวงที่ ๓.
เต
เอว ธรรมทั้งหลายเหล่านั้นนั่นแหละ ฃาณปีติวชฺชิตา
ที่เว้นจากญาณและปีติ คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์ จตุตฺถทฺวเย
ในจิต ๒ ดวงที่ ๔.
กฺริยาจิตฺเตสุ
แม้ในบรรดากิริยาจิตทั้งหลาย ธรรมเหล่านั้นนั่นแหละ ที่เว้นวิรตี คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ ซึ่งการสงเคราะห์ จตุธา โดย ๔ ประการ จตูสุ ทุเกสุ
ใน ๔ทุกะ.
จ ก็ วิปาเกสุ ในบรรดาวิบากทั้งหลาย ตถา
ก็เช่นกัน เต เอว
ธรรมเหล่านั้นนั่นแหละ อปฺปมฺาวิรติวชฺชิตา ที่เว้นอัปปมัญญาและวิรตี สงฺคยฺหนฺติ
ย่อมถูกสงเคราะห์ ในทุกะ แม้ทั้ง ๔.
สงฺคโห สังคหนัย ทฺวาทสธาว ๑๒ นัยนั่นเทียว
โหติ ย่อมมี ทุกวเสน เนื่องด้วยเป็นทุกะ จตุวีสติกามาวจรโสภณจิตฺเตสุ
ในกามาวจรโสภณจิต ๒๔ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง อิติ ฉะนี้แล
อฏฺตฺตึส
สตฺตตฺตึส ทฺวย ฉตฺตึสก สุเภ
ปฺจตฺตึส
จตุตฺตึส ทฺวย เตตฺตึสก กฺริเย ฯ
เตตฺตึส ปาเก
ทฺวตฺตึส ทฺวเยกตฺตึสก ภเว
สเหตุกามาวจร- ปฺุปากกฺริยามเน
ฯ
สเหตุกามาวจรปฺุปากกฺริยามเน ใน สเหตุกกามาวจรกุศลจิต
วิบากจิตและกิริยาจิต ภเว พึงมี สงฺคโห สังคหนัย ทฺวาทสธา ๑๒
นัย คือ สุเภ ในกุศลจิต ภเว
พึงมี อฏฺตฺตึส ธรรม ๓๘, สตฺตตฺตึสทฺวย หมวด ๒ แห่งธรรม ๓๗,
ฉตฺตึสก และธรรม ๓๖. กฺริเย ในกิริยาจิต ภเว พึงมี ปฺจตฺตึส ธรรม ๓๕, จตุตฺตึสทฺวย
หมวด ๒ แห่งธรรม ๓๔, เตตฺตึสกํ ธรรม ๓๓. ปาเก ในวิบากจิต ภเว พึงมี เตตฺตึส ธรรม ๓๓, ทฺวตฺตึสทฺวยํ หมวด ๒ แห่งธรรม ๓๒, เอกตฺตึสก ธรรม ๓๑.
น วิชฺชนฺเตตฺถ
วิรตี กฺริยาสุ
จ มหคฺคเต
อนุตฺตเร
อปฺปมฺา กามปาเก ทฺวย ตถา ฯ
เอตฺถ ในจิตเหล่านี้ กฺริยาสุ จ มหคฺคเต จ คือ
ในกิริยาจิตและมหัคคตจิต วิรตี วิรตี น วิชฺชนฺติ ย่อมไม่มี, อนุตฺตเร
ในอนุตรจิต อปฺปมฃฺฃา อัปปมัญญา น วิชฺชนฺติ
ย่อมไม่มี, ตถา อนึ่ง ทฺวยํ วิริตีและอัปปมัญญาทั้งสอง น วิชฺชนฺติ
ย่อมไม่มี กามปาเก ในกามาวจรวิบากจิต
อนุตฺตเร
ฌานธมฺมา อปฺปมฺา จ มชฺฌิเม
วิรตี าณปีติ
จ ปริตฺเตสุ
วิเสสกา ฯ
อนุตฺตเร ในอนุตรจิต ฌานธมฺมา ฌานธรรม
วิเสสกา เป็นธรรมที่สร้างความต่างกัน, มชฺฌิเม ในมหัคคตจิต อปฺปมฃฺฃา
อัปปมัญญา วิเสสกา เป็นธรรมสร้างความต่างกัน, ปริตฺเตสุ
ในกามาวจรจิต วิรตี าณปีติ จ วิรตี, ญาณและปีติ วิเสสกา
เป็นธรรมสร้างความต่างกันฯ
อกุสเลสุ ปน
โลภมูเลสุ ตาว ปเม
อสงฺขาริเก อฺสมานา เตรส เจตสิกา
อกุสลสาธารณา จตฺตาโร เจติ สตฺตรส โลภทิฏฺีหิ สทฺธึ
เอกูนวีสติ ธมฺมา สงฺคห
คจฺฉนฺติ ฯ ตเถว ทุติเย
อสงฺขาริเก โลภมาเนน สทฺธึ
ฯ ตติเย ตเถว
ปีติวชฺชิตาโลภ- ทิฏฺีหิ อฏฺารส ฯ
จตุตฺเถ ตเถว โลภมาเนน ฯ ปฺจเม ปน ปฏิฆสมฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก
โทโส อิสฺสา มจฺฉริย
กุกฺกุจฺจฺจาติ จตูหิ สทฺธึ ปีติวชฺชิตา
เต เอว วีสติ
ธมฺมา สงฺคยฺหนฺติฯอิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ
ปเนตฺถ ปจฺเจกเมวโยเชตพฺพานิ ฯ สสงฺขาริกปฺจเกปิ
ตเถว ถีนมิทฺเธน วิเสเสตฺวา
โยเชตพฺพา ฯ ฉนฺทปีติวชฺชิตา ปน อฺสมานา
เอกาทส - อกุสลสาธารณา จตฺตาโร
จาติ ปณฺณรส ธมฺมา
อุทฺธจฺจ- สหคเต สมฺปยุชฺชนฺติ ฯ
วิจิกิจฺ-ฉาสหคตจิตฺเต จ อธิโมกฺขวิรหิตา วิจิกิจฺฉาสหิตา ตเถว ปณฺณรส ธมฺมา สมุปลพฺภนฺติ ฯ
สพฺพถาปิ ทฺวาทสากุสลจิตฺตุปฺปาเทสุ
ปจฺเจก โยชิยมานาปิ คณนวเสน สตฺตธาว สงฺคหิตา ภวนฺตีติ ฯ
ปน
ส่วน อกุสเลสุ ในบรรดาอกุศลจิตทั้งหลาย ตาว ก่อนอื่น
สตฺตรส
ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ๑๗ อิติ คือ
อฺสมานา เตรส เจตสิกา จ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุสลสาธารณา จตฺตาโร
จ อกุสลสาธารณเจตสิก ๔ เอกูนวีสติ เป็นธรรม ๑๙ สทฺธึ พร้อม โลภทิฏฺีหิ ด้วยโลภะและทิฏฐิ
คจฺฉนฺติ ถึง สงฺคห การสงเคราะห์ ปเม อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๑.
ตเถว
ธรรม ๑๗ นั้นนั่นแหละ เอกูนวีสติ เป็นธรรม ๑๙ สทฺธึ พร้อม โลภมาเนนด้วยโลภะและมานะ คจฺฉนฺติ
ถึง สงฺคห การสงเคราะห์ ทุติเย อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๒.
ตเถว ธรรม ๑๗ นั้นนั่นแหละ ปีติวชฺชิตา
ที่เว้นจากปีติ (เหลือ ๑๖) อฏฺฅารส เป็นธรรม ๑๘ สทฺธึ พร้อม โลภทิฏฺีหิ
ด้วยโลภะและทิฏฐิ คจฺฉนฺติ ถึง สงฺคห การสงเคราะห์ ตติเย อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๓.
ตเถว
ธรรม ๑๖ นั้นนั่นแหละ อฏฺฅารส เป็นธรรม ๑๘ สทฺธึ พร้อม โลภมาเนน
ด้วยโลภะและมานะ คจฺฉนฺติ ถึง สงฺคห การสงเคราะห์ จตุตฺเถ อสงฺขาริเก ในอสังขาริกจิตดวงที่ ๔.
ปน
แต่ เต เอว ธรรม ๑๗ นั้นนั่นแหละ ปีติวชฺชิตา ที่เว้นปีติ วีสติ ธมฺมา
เป็นธรรม ๒๐ สทฺธึ พร้อม จตูหิ ธรรม ๔ อิติ คือ โทโส จ โทสะ,
อิสฺสา จ อิสสะ, มจฺฉริยํ จ มัจฉริยะ, กุกฺกุจฺจํ จ
และกุกกุจจะ สงฺคยฺหนฺติ ย่อมถูกสงเคราะห์ ปฺจเม ปฏิฆสมฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก ในปฏิฆสัมปยุตอสังขาริกจิต
ดวงที่ ๕. ปน แต่ว่า เอตฺถ ในจิตดวงนี้ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ
อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ โยเชตพฺพานิ บัณฑิตพึงประกอบ ปจฺเจกํ เอว
ทีละดวงเท่านั้น.
สสงฺขาริกปฃฺจเกปิ
แม้ในสสังขาริกจิต ๕ ดวง เต เอว ธรรมเหล่านั้นนั่นแหละ โยเชตพฺพา พึงประกอบ
วิเสเสตฺวา ให้พิเศษออกไป ถีนมิทฺเธน ด้วยถีนมิทธะ.
ปน
ส่วน ธมฺมา ธรรม ปณฺณรส ๑๕ อิติ คือ ฉนฺทปีติวชฺชิตา
เอกาทส อฺสมานา จ อัญญสมานาเจตสิก
๑๑ เว้นฉันทะและปีติ อกุสลสาธารณา จตฺตาโร จ และอกุสลสาธารณเจตสิก๔สมฺปยุชฺชนฺติ
ย่อมประกอบร่วมกัน อุทฺธจฺจสหคเตในอุทธัจจสหคตจิต.
จ อนึ่ง ตเถว ธรรมเหล่านั้นนั่นแหละ
อธิโมกฺขวิรหิตา เว้นอธิโมกข์ วิจิกิจฺฉาสหิตา แต่ประกอบด้วยวิจิกิจฉา
ปณฺณรส ธมฺมา เป็นธรรม ๑๕ สมุปลพฺภนฺติ อันบัณฑิตย่อมได้พร้อมกัน วิจิกิจฺฉาสหคตจิตฺเต
ในวิจิกิจฉาสหคตจิต.
ธมฺมา
เจตสิกธรรมทั้งหลาย ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต โยชิยมานาปิ แม้เมื่อประกอบ ทฺวาทสกุสลจิตฺตุปฺปาเทสุ ในอกุสลจิตตุปบาท
๑๒ ปจฺเจกํ แต่ละดวง ภวนฺติ ย่อมเป็น สงฺคหิตา อันถูกสงเคราะห์ได้
สตฺตธา ว เพียง ๗ นัยเท่านั้น คณนวเสน เนื่องด้วยการนับจำนวน สพฺพถาปิ
แม้โดยประการทั้งปวง อิติ ฉะนี้แล.
เอกูนวีสฏฺารส วีเสกวีส
วีสติ
พาวีส
ปณฺณรสาติ สตฺตธากุสเล ิตา ฯ
เอเต ธรรมเหล่านี้ ฅิตา ตั้งอยู่ อกุสเล ในอกุศลจิต
สตฺตธา โดย ๗ ประการ อิติ
คือ เอกูนวีส ธรรม ๒๑, อฏฺฅารส ธรรม ๑๘, วีส ธรรม ๒๐, เอกวีส
ธรรม ๒๑, วีสติ ธรรม ๒๐, พาวีส ธรรม ๒๒, ปณฺณรส ธรรม ๑๕.
สาธารณา
จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร
จุทฺทเสเต ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุสลโยคิโน
ฯ
จุทฺทส ธรรม ๑๔ ประการ เอเต เหล่านี้ อิติ
คือ สาธารณา จตฺตาโร จ อกุสลสาธารณะ ๔, สมานา ทส อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ อปเร
เหล่าอื่น ปวุจฺจนฺติ ถูกเรียกว่า สพฺพากุสลโยคิโน สัพพา-กุสลโยคีเจตสิก.
อเหตุเกสุ ปน
หสนจิตฺเต ตาว ฉนฺทวชฺชิตา
อฺสมานา ทฺวาทส ธมฺมา สงฺคห
คจฺฉนฺติ ฯ ตถา
โวฏฺวเน ฉนฺทปีติวชฺชิตา ฯ
สุขสนฺตีรเณ ฉนฺทวิริยวชฺชิตา ฯ มโนธาตุติกาเหตุกปฏิสนฺธิยุคเล
ฉนฺทปีติวิริยวชฺชิตาฯทฺวิปฺจวิฺาเณสุ ปกิณฺณกวชฺชิตา เต
เอว สงฺคยฺหนฺติ ฯ
สพฺพถาปิ อฏฺารสสุ อเหตุเกสุ
คณนวเสน จตุธาว สงฺคโห โหตีติ ฯ
ปน ส่วนว่า อเหตุเกสุ
ในอเหตุกจิตทั้งหลาย ตาว ก่อนอื่น
ทฺวาทส
ธมฺมา ธรรม ๑๒ คือ อฃฺฃสมานา ฉนฺทวชฺชิตา อัญญสมานาเจตสิกเว้นฉันทะ
คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ การสงเคราะห์ หสนจิตฺเต
ในหสิตุปปาทจิต.
ตถา
ธรรม ๑๓ นั้นนั่นแหละ ฉนฺทปีติวชฺชิตา เว้นฉันทะและปีติ (เหลือ ๑๑) คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ การสงเคราะห์ โวฏฺฅวเน ในโวฏฐัพพนจิต. ตถา
ธรรม ๑๓ นั้นนั่นแหละ ฉนฺทวิริยวชฺชิตา เว้นฉันทะและวิริยะ (เหลือ ๑๑) คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ การสงเคราะห์ สุขสนฺตีรเณ ในโสมนัสสันตีรณจิต.
ตถา
ธรรม ๑๓ นั่นแหละ ฉนฺทปีติวิริยวชฺชิตา เว้นฉันทะปีติและวิริยะ (เหลือ ๑๐) คจฺฉนฺติ
ย่อมถึง สงฺคหํ การสงเคราะห์ มโนธาตุติกาเหตุกปฏิสนฺธิยุคเล
ในมโนธาตุ ๓ (สัมปฏิจฉนจิต ๒และปัญจทวาราวัชชนจิต ๑) และอเหตุกปฏิสนธิทั้งคู่ (อุเบกขาสันตีรณจิต
๒).
เต
เอว ธรรม ๑๓ นั้นนั่นแหละ ปกิณฺณกวชฺชิตา เว้นปกิณณกเจตสิก (เหลือ ๗) สงฺคยฺหนฺติ
ย่อมถูกสงเคราะห์ ทฺวิปฺจวิฺาเณสุ ในทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐.
อฏฺารสสุ อเหตุเกสุ ในอเหตุกจิต ๑๘ โหติ
ย่อมมี สงฺคโห สังคหนัย จตุธาว เพียง ๔ เท่านั้น คณนวเสน เกี่ยวกับการนับจำนวน
สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง อิติ ด้วยประการฉะนี้.
ทฺวาทเสกาทส ทส สตฺต
จาติ จตุพฺพิโธ
อฏฺารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ
สงฺคโห ฯ
อเหตุเกสุ สพฺพตฺถ สตฺต
เสสา ยถารห
อิติ
วิตฺถารโต วุตฺตา เตตฺตึสวิธสงฺคหา ฯ
จิตฺตุปฺปาเทสุ อฏฺฅารสาเหตุเกสุ ในอเหตุกจิตตุปบาท ๑๘ ภเว
พึงมี สงฺคโห สังคหนัย จตุพฺพิโธ ๔ นัย อิติ คือ ทฺวาทส จ ธรรม ๑๒, เอกาทส จ ธรรม
๑๑, ทส จ ธรรม ๑๐, สตฺต จ
และ ธรรม ๗ .
เสสา สตฺต ธรรมที่เหลือ ๗ โหนฺติ ย่อมมี อเหตุเกสุ
ในอเหตุกจิต สพฺพตฺถ ทั้งปวง ยถารหํ ตามสมควร.
เตตฺตึสวิธสงฺคหา สังคหนัย ๓๓ ประการ วุตฺตา
อันข้าพเจ้ากล่าวแล้ว วิตฺถารโต โดยพิสดาร อิติ ด้วยประการฉะนี้.
อิตฺถ
จิตฺตาวิยุตฺตาน สมฺปโยคฺจ สงฺคห
ญตฺวา เภท ยถาโยค จิตฺเตน
สมมุทฺทิเสติ ฯ
ปณฺฑิโต บัณฑิต ฃตฺวา ครั้นได้รู้ สมฺปโยคํ จ สัมปโยคนัย ด้วย สงฺคหํ
จ ซึ่งสังคหนัยด้วย จิตฺตาวิยุตฺตานํ
แห่งสภาวะที่ไม่แยกกันด้วยจิต อิตฺถํ ด้วยประการดังนี้แล้ว อุทฺทิเส พึงแสดง เภทํ ประเภท สมํ
อันเสมอ จิตฺเตน ด้วยจิต ยถาโยคํ
ตามควรแก่การประกอบ อิติ ฉะนี้แล
อิติ อภิธมฺมตฺถสงฺคเห
เจตสิกสงฺคหวิภาโค นาม ทุติโย
ปริจฺเฉโท ฯ
ปริจฺเฉโท ปริจเฉท ทุติโย ที่ ๒
เจตสิกสงฺคหวิภาโค นาม ชื่อว่า เจตสิกสังคหวิภาค
อภิธมฺมตฺถสงฺคเห ในปกรณ์อภิธัมมัตถสังคหะ
นิฏฺฅิโต จบแล้ว อิติ
ด้วยประการฉะนี้