เตส
จิตฺตาวิยุตฺตาน ยถาโยคมิโต ปร
จิตฺตุปฺปาเทสุ
ปจฺเจก สมฺปโยโค
ปวุจฺจติ ฯ
สตฺต
สพฺพตฺถ ยุชฺชนฺติ ยถาโยค ปกิณฺณกา
จุทฺทสากุสเลเสฺวว โสภเณเสฺวว
โสภณา ฯ
ปรํ ต่อจาก อิโต เจตสิกสรูปทสฺสนโต
การแสดงสภาวะของเจตสิกนี้ สมฺปโยโค สัมปโยคะ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย ปจฺเจกํ
แต่ละดวง จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งสภาวะที่ไม่แยกกันกับด้วยจิต เตสํ
เหล่านั้น มยา อันเรา ปวุจฺจติ จะกล่าว ยถาโยคํ ตามควรแก่การประกอบ.
สตฺต สพฺพจิตฺตสาธารณา สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ยุชฺชนฺติ
ย่อมประกอบ สพฺพตฺถ จิตฺเตสุ ในจิตทั้งปวง ปกิณฺณกา ปกิณณกเจตสิก ยุชฺชนฺติ
ย่อมประกอบ ยถาโยคํ ตามควรแก่การประกอบได้ จุทฺทส อกุสลา อกุสลเจตสิก
๑๔ ยุชฺชนฺติ ย่อมประกอบ อกุสเล เอว ในอกุศลจิตเท่านั้น โสภณา
โสภณเจตสิก ยุชฺชนฺติย่อมประกอบ โสภเณสุ เอว ในโสภณจิตเท่านั้น.
กถ ฯ สพฺพจิตฺตสาธารณา ตาว
สตฺติเม เจตสิกา สพฺเพสุปิ เอกูนนวุติจิตฺตุปฺปาเทสุ ลพฺภนฺติ
ฯ
สมฺปโยโค สัมปโยคนัย จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย ปจฺเจกํ
แต่ละดวง จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งสภาวะที่ไม่แยกกันกับด้วยจิต เตสํ
เหล่านั้น กถํ อย่างไร? ตาว ก่อนอื่น สตฺต เจตสิกา เจตสิก ๗
ดวง สพฺพจิตฺตสาธารณา ที่ชื่อว่า สัพพจิตตสาธารณะ อิเม เหล่านี้ ลพฺภนฺติ
อันบัณฑิตย่อมได้ สพฺเพสุปิ เอกูนนวุติจิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาท ๘๙
แม้ทั้งปวง.
ปกิณฺณเกสุ ปน
วิตกฺโก ตาว
ทฺวิปฺจวิฺาณวชฺชิตกามาวจรจิตฺเตสุ
เจว เอกาทสสุ
ปมชฺฌานจิตฺเตสุ จาติ ปฺจปฺาสจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชติ ฯ
วิจาโร ปน เตสุ เจว
เอกาทสสุ ทุติยชฺฌานจิตฺเตสุ จาติ ฉสฏฺิจิตฺเตสุฯ อธิโมกฺโข ปน ทฺวิปฺจวิฺาณ-วิจิกิจฺฉาสหคตวชฺชิตจิตฺเตสุฯ
วิริย ปน ปฺจทฺวาราวชฺชนทฺวิปฺจ วิฺาณสมฺปฏิจฺฉนฺนสนฺตีรณวชฺชิตจิตฺเตสุ ฯ ปีติ
โทมนสฺสุเปกฺขาสหคตกายวิฺาณจตุตฺถชฺฌานวชฺชิตจิตฺเตสุ ฯ ฉนฺโท
อเหตุกโมมูหวชฺชิตจิตฺเตสุ ฯ
ปน
ก็ ปกิณฺณเกสุ ในบรรดาปกิณณกเจตสิก ตาว ลำดับแรก
วิตกฺโก
วิตก อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด ปฺจปฺาสจิตฺเตสุ ในจิต ๕๕ ดวง อิติ
คือ ทฺวิปฺจวิฺาณวชฺชิตกามาวจรจิตฺเตสุ เจว กามาวจรจิตที่เว้นทวิปัญจ-วิญญาณจิต เอกาทสสุ ปมชฺฌานจิตฺเตสุ จ และในปฐมฌานจิต ๑๑ ดวง.
วิจาโร
วิจาร อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด ฉสฏฺิจิตฺเตสุ ในจิต ๖๖ ดวง อิติ
คือ เตสุ เจว ในกามาวจรจิตที่เว้นทวิปัญจวิญญาณจิตเหล่านั้น เอกาทสสุ
ทุติยชฺฌาน- จิตฺเตสุ จ และในทุติยฌานจิต
๑๑ ดวง.
อธิโมกฺโข
อธิโมกข์ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด ทฺวิปฺจวิฺาณวิจิกิจฺฉาสหคตวชฺชิตจิตฺเตสุ
ในจิตที่เว้นทวิปัญจวิญญาณจิตและวิจิกิจฉาสหคตจิต.
ปน
ส่วน วิริย วิริยะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด ปฺจทฺวาราวชฺชนทฺวิปฺจวิฺาณสมฺปฏิจฺฉนฺนสนฺตีรณวชฺชิตจิตฺเตสุ
ในจิตที่เว้นปัญจทวาราวัชชนจิต ๑, ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ , สัมปฏิจฉันนจิต ๒ และสันตีรณจิต
๓ .
ปีติ
ปีติ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด โทมนสฺสุเปกฺขาสหคตกายวิฺาณจตุตฺถชฺฌานวชฺชิตจิตฺเตสุ ในจิตที่เว้นโทมนัสสหคตจิต
๒ อุเบกขาสหคตจิต ๕๕ กายวิญญาณจิต ๒ จตุตถฌานจิต
๑๑.
ฉนฺโท
ฉันทะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด อเหตุกโมมูหวชฺชิตจิตฺเตสุ ในจิตที่เว้นจากอเหตุกจิตและโมมูหจิต.
เต ปน จิตฺตุปฺปาทา ยถากฺกม
ฉสฏฺี
ปฺจปฺาส เอกาทส จ โสฬส
สตฺตติ วีสติ
เจว ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ฯ
ปฺจปฺาส
ฉสฏฺฺยฏ- สตฺตติ ติสตฺตติ
เอกปฺาส
เจกูน- สตฺตติ สปฺปกิณฺณกา ฯ
ปน ก็ เต จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทเหล่านั้น
ฉสฏฺฅี จ ๖๖ ดวง, ปฺจปฺาส จ ๕๕ ดวง เอกาทส จ ๑๑ ดวง โสฬส จ ๑๖ ดวง สตฺตติ จ ๗๐ วีสติ เจว และ ๒๐ ดวง
ยถากฺกมํ ตามลำดับ ปกิณฺณวิวชฺชิตา เป็นจิตตุปบาทที่เว้นจากปกิณณเจตสิก. จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาท ปฺจปฺาส จ ๕๕ ฉสฏฺฅี จ ๖๖ ดวง อฏฺฅสตฺตติ ๗๘ ดวง ติสตฺตติ จ ๗๓ ดวง เอกปฃฺฃาส จ
๕๑ ดวง เอกูนสตฺตติ จ และ๖๙ ดวง ยถากฺกมํ ตามลำดับ สปฺปกิณฺณกา
เป็นจิตตุปบาทที่เป็นไปร่วมกับปกิณณกเจตสิก.
อกุสเลสุ ปน โมโห อหิริก อโนตฺตปฺป อุทฺธจฺจฺจาติ จตฺตาโรเม เจตสิกา สพฺพากุสลสาธารณา นาม สพฺเพสุปิ ทฺวาทสากุสเลสุ ลพฺภนฺติ ฯ โลโภ อฏฺสุ โลภสหคตจิตฺเตเสฺวว ลพฺภติ ฯ ทิฏฺิ จตูสุ ทิฏฺิคตสมฺปยุตฺเตสุ ฯ มาโน จตูสุ ทิฏฺิคตวิปฺปยุตฺเตสุ ฯ โทโส อิสฺสา มจฺฉริย กุกฺกุจฺจฺจาติ ทฺวีสุ ปฏิฆจิตฺเตสุ ฯ ถีนมิทฺธ ปฺจสุ สสงฺขาริกจิตฺเตสุ ฯ วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาสหคตจิตฺเตเยว ลพฺภตีติ ฯ
ปน ส่วนว่า อกุสเลสุ ในบรรดาอกุสลเจตสิกทั้งหลาย
เจตสิกา เจตสิก จตฺตาโร ๔ ดวง อิเม เหล่านี้ อิติ คือ โมโห จ โมหะ อหิริกํ จ อหิริกะ อโนตฺตปฺปํ จ อโนตตัปปะ อุทฺธจฺจฃฺจ และอุทธัจจะ สพฺพากุสลสาธารณา นาม ชื่อว่า สัพพากุสลสาธารณะ ลพฺภนฺติ อันบัณฑิตย่อมได้ ทฺวาทสากุสเลสุ ในอกุศลจิต ๑๒ สพฺเพสุปิ แม้ทั้งปวง.
โลโภ โลภะ อันบัณฑิต ลพฺภติ ย่อมได้ โลภสหคตจิตฺเตสุ ในโลภสหคตจิต อฏฺสุ๘ ดวง เอว เท่านั้น ฯ
ทิฏฺิ ทิฏฐิ ลพฺภติ อันบัณฑิต ย่อมได้ จตูสุ ทิฏฺิคตสมฺปยุตฺเตสุ ในทิฏฐิคต-สัมปยุตจิต ๔ ดวงเท่านั้น ฯ
มาโน มานะ ลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ ทิฏฺิคตวิปฺปยุตฺเตสุ ในทิฏฐิคตวิปยุตจิต จตูสุ ๔ ดวง ฯ
จตฺตาโร เจตสิกา เจตสิก ๔ ดวง อิเม นี้ อิติ คือ โทโส จ โทสะ อิสฺสา จ อิสสา มจฺฉริย จ มัจฉริยะ กุกฺกุจฺจํ จ และกุกกุจจะ ลพฺภติ อันบัณฑิต ย่อมได้ ทฺวีสุ ปฏิฆจิตฺเตสุในปฏิฆจิต ๒ ดวงฯ
ถีนมิทฺธ ถีนะและมิทธะ ลพฺภติ อันบัณฑิต ย่อมได้ สสงฺขาริกจิตฺเตสุ ในสสังขาริกจิต ปฺจสุ ๕ ดวง ฯ
วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฉา ลพฺภติ อันบัณฑิต ย่อมได้ วิจิกิจฺฉาสหคตจิตฺเตเยว ในวิจิกิจฉาจิตเท่านั้น อิติ ฉะนี้แล ฯ
สพฺพาปฺุเสุ จตฺตาโร โลภมูเล ตโย กตา
โทสมูเลสุ จตฺตาโร สสงฺขาเร ทฺวยนฺตถา ฯ
วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉา- จิตฺเต จาติ จตุทฺทส
ทฺวาทสากุสเลเสฺวว สมฺปยุชฺชนฺติ ปฺจธา ฯ
จตุทฺทส อกุสลา อกุสลเจตสิก ๑๔ สมฺปยุชฺชนฺติ ประกอบ ทฺวาทสากุสเลเสฺวว ในอกุศลจิต ๑๒ ดวงนั่นเทียว ปฃฺจธา โดยอาการ ๕ อิติ คือ จตฺตาโร เจตสิก ๔ กตา ทรงกระทำไว้ สพฺพาปุฃฺเฃสุ ในจิตที่เป็นปฏิปักษ์กับบุญทั้งปวง ตโย เจตสิก ๓ กตา ทรงกระทำไว้ โลภมูเล ในโลภมูลจิต จตฺตาโร เจตสิก ๔ ทรงกระทำไว้ โทสมูเลสุ ในโทสมูลจิตทั้งหลาย ตถา อนึ่ง ทฺวยํ เจตสิก ๒ กตํ ทรงกระทำไว้ สสงฺขาเร ในสสังขาริกจิต วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฉา กตา ทรงกระทำไว้ วิจิกิจฺฉา -จิตฺเต ในวิจิกิจฉาจิต จ เท่านั้น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น