อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
อุเปกฺขาสหคต จกฺขุวิฃฺฃาณํ, ตถา โสตวิฺาณ ฆานวิฺาณ ชิวฺหาวิฺาณ ทุกฺขสหคต กายวิฺาณ อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา สนฺตีรณฺเจติ อิมานิ สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ นาม.
อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [จ ดวงหนึ่ง], โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [จ ดวงหนึ่ง], ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [จ ดวงหนึ่ง], ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [จ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
อเหตุกจิต (๑๐) อธิบายคำว่า กายวิญญาณ
สสมฺภารกาโย วา
กุจฺฉิตาน เกสาทีน อาโยติ กาโย.
วา
อีกอย่างหนึ่ง โย สสมฺภารกาโย สสัมภารกาย[1]
อันใด อาโย เป็นที่เป็นไป เกสาทีนํ แห่งอวัยวะมีผมเป็นต้น กุจฺฉิตานํ
ซึ่งเป็นธรรมน่ารังเกียจ อิติ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น โส สสมฺภารกาโย
สสัมภารกายนั้น กาโย ชื่อว่า กาย.