วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

อเหตุกจิต ๑๐

อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
       อุเปกฺขาสหคต   จกฺขุวิฃฺฃาณํ,  ตถา  โสตวิฺาณ   ฆานวิฺาณ  ชิวฺหาวิฺาณ  ทุกฺขสหคต  กายวิฺาณ  อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา   สนฺตีรณฺเจติ  อิมานิ  สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ  นาม.
          อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [ ดวงหนึ่ง]โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [ ดวงหนึ่ง]ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [ ดวงหนึ่ง]ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา 
อเหตุกจิต (๑๐) อธิบายคำว่า กายวิญญาณ

            สสมฺภารกาโย  วา  กุจฺฉิตานเกสาทีน  อาโยติ  กาโย.  
          วา อีกอย่างหนึ่ง โย สสมฺภารกาโย สสัมภารกาย[1] อันใด อาโย เป็นที่เป็นไป เกสาทีนํ แห่งอวัยวะมีผมเป็นต้น กุจฺฉิตานํ ซึ่งเป็นธรรมน่ารังเกียจ อิติ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น โส สสมฺภารกาโย สสัมภารกายนั้น กาโย ชื่อว่า กาย.

          ตสหจริตตฺตา  ปน  ปสาทกาโยปิ  ตถา วุจฺจติ.
         ปน ก็ ปสาทกาโยปิ แม้กายปสาท วุจฺจติ ถูกเรียก[2] ตถา [= กาโย] ว่ากาย ตํสหจริตตฺตา  [= เตน  สสมฺภารกาเยน  สหปฺปวตฺติภาวโต]  เพราะเป็นธรรมชาติเป็นไปพร้อมกับสสัมภารกายนั้น.

          [ ] [3] กุจฺฉิต  หุตฺวา  ขนติ  กายิกสุข  ทุกฺขมนฺติ  วา  ทุกฺข.  ทุกฺกรโมกาสทาน  เอตสฺสาติ  ทุกฺขนฺติปิ  อปเร.
            ธมฺมชาต  ธรรมชาติใด กุจฺฉิต  หุตฺวา เป็นสิ่งน่ารังเกียจ   ขนติ ย่อมขุดเสีย กายิกสุข  ซึ่งสุขทางกายไป.  วา อีกนัยหนึ่ง  ย  ธมฺมชาตธรรมชาติใด  ทุกฺขม  เป็นสภาพทนได้ยาก อิติ  ตสฺมา เพราะเหตุนั้น  ต  ธมฺมชาต  ธรรมชาตินั้น ทุกฺข เรียกว่า ทุกข์. 
          อปเร อาจริยา อาจารย์พวกอื่น วทนฺติ กล่าว (วจนํ) อิติปิ คำแม้อย่างนี้ว่า (ปวตฺติวิปากทายเกน อกุสลกมฺเมน) โอกาสทานํ การที่อกุสลกรรมผู้มอบปวัตติวิบากให้ (เปิด) โอกาส สตฺเตหิ อันสัตว์ทั้งหลาย ทุกฺกรํ [= ทุกฺเขหิ กตฺตพฺพํ] ทำได้โดยยาก (อตฺถิ) มีอยู่ เอตสฺส ธมฺมชาตสฺส แก่ธรรมชาตินี้ อิติ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น ทุกฺขํ เรียกว่า ทุกข์. [4]


[1] สสมฺภารกาย มีคำแปล ๒ นัย คือ
            ๑) สมฺภริยติ  เอเตหีติ  สมฺภารา.  กาโย  เอเตหิ  วณฺณคนฺธาทีหิ  อวยเวหิ  สมฺภริยติ  อุปตฺถมฺภิยติ  อิติ  ตสฺมา  เต อวยวา  สมฺภารา.  เอเตหีติ  สมฺภริยตีติ  ปเท  กตฺตา.   สห  สมฺภาเรหิ  ปวตฺตตีติ สสมฺภาโร  กาโย.  สสมฺภาโร  เอว  กาโย  สสมฺภารกาโย.
            ส่วนประกอบมีวัณณะ และ กลิ่นเป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่อุปถัมภ์ค้ำจุนกายนี้ เรียกว่า สัมภาระ. (สํ + ภร อุปตฺถมฺภเน ในการอุปถัมภ์, ทรงไว้ + ณ กัตตุสาธนะ) กายที่เป็นไปพร้อมด้วยสัมภาระหรือส่วนประกอบเหล่านี้ เรียกว่า สสัมภารกาย. (โยชนา)
            ๒) สมฺภรติ ปวตฺตติ เอเตน กายวิฃฺฃานฺติ สมฺภาโร, กายปฺปสาโท. สห สมฺภาเรนาติ         สสมฺภาโร. โส เอว กาโย สสมฺภารกาโย, ตทธิฏฺฅาโน สกโล ทพฺพปิณฺโฑ.
            กายปสาท เรียกว่า สัมภาระ เพราะเป็นสิ่งที่ช่วยให้กายวิญญาณเป็นไปได้ (สํ + ภร        วตฺตเน เป็นไป + อ). กลุ่มแห่งทัพพะ(เครื่องประกอบหรือตัว)ทั้งหมด ซึ่งเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งกายปสาทนั้น เรียกว่า สสัมภารกาย กายที่เป็นไปพร้อมกับกายปสาท. (มณิ)
[2] ถูกเรียกโดยฐานูปจาร กล่าวถึงที่อยู่ (กายคือสสัมภารกาย) แต่หมายถึงสิ่งที่มาอยู่ (กายปสาท) เช่น เตียงส่งเสียงดัง.
[3] ฉบับฉัฏฐ.  มี ทุ
[4] โยชนาว่า นัยแรก เป็นกัมมธารยสมาส  กุจฺฉิตํ หุตฺวา ขํ แปลว่า ทุกข์คือธรรมชาติน่ารังเกียจที่ขุดความสุขไป, นัยที่สองเป็นตัปปุริสสมาส ทุกฺเขน ขํ  แปลว่า ธรรมชาติที่อดทนได้โดยยาก. ส่วนนัยที่ ๓ ที่เป็นมติของอาจารย์อีกฝ่ายหนึ่ง (ซึ่งไม่ใช่มติของพระอรรถกถาจารย์ แต่ท่านพระสุมังคลาจารย์ยอมรับมตินี้ เพราะไม่ได้คัดค้านแต่อย่างใด)  เป็นพหุพีหิสมาส ทุกฺกรํ + ขํ + เอต (อัญญบท) มีความหมายว่า ธรรมชาติมีการที่อกุศลกรรมซึ่งให้วิบากในปวัตติกาลเปิดโอกาสให้นั้นทำได้ยาก จึงเรียกว่า ทุกข์. มีความหมายดังนี้ ทุ =  ทุกฺกร อันสัตว์ทำได้ยาก. ขํ  = โอกาสทาน ให้โอกาส (ท่านให้เพิ่มกัตตาว่า ปวตฺติวิปากทายเกน อกุสลกมฺเมน อกุศลกรรมที่ให้ ปวัตติวิบาก). 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น