วันศุกร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2560

อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๓ เหตุสังคหะ

ตติโย ปริจฺเฉโท
ปกิณฺณกสงฺคหวิภาโค
ปริจฺเฉโท ปริจเฉท ตติโย ที่ ๓ ปกิณฺณกสงฺคหวิภาโค ชื่อว่า ปกิณณกสังคหวิภาค
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
                        .         สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ,     เตปญฺญาส สภาวโตฯ
จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา,     เตสํ ทานิ ยถารหํฯ
.        เวทนาเหตุโต กิจฺจ-      ทฺวาราลมฺพณวตฺถุโตฯ
จิตฺตุปฺปาทวเสเนว,       สงฺคโห นาม นียเตฯ
            ธมฺมา ธรรม จิตฺตเจตสิกา อันได้แก่ จิตและเจตสิก สมฺปยุตฺตา ซึ่งประกอบร่วมกัน   ยถาโยคํ ตามควรแก่การประกอบ เตปญฺญาส [โหนฺติ ย่อมเป็น] ธรรม ๕๓ สภาวโต โดยสภาวะ.

            ทานิ     บัดนี้ มยา ข้าพเจ้า นียเต จะนำ-  สงฺคโห การรวบรวม เตสํ [ธมฺมานํ] ของธรรม ๕๓ เหล่านั้น  เวทนาเหตุโต โดยเวทนา และเหตุ,  กิจฺจทฺวาราลมฺพนวตฺถุโต จ และโดยกิจ ทวาร อารมณ์และวัตถุ  จิตฺตุปฺปาทวเสน โดยเกี่ยวกับจิตตุปบาท เอว นั่นเทียว ยถารหํ ตามควร  [ปกิณฺณกสงฺคโห]  นาม ที่ชื่อว่าปกิณณกสังคหะมา(แสดง). 
. ตตฺถ เวทนาสงฺคเห ตาว ติวิธา เวทนา สุขํ ทุกฺขํ อทุกฺขมสุขา เจติ, สุขํ ทุกฺขํ โสมนสฺสํ โทมนสฺสํ อุเปกฺขาติ จ เภเทน ปน ปญฺจธา โหติฯ

            ตตฺถ = เตสุ ฉสุ สงฺคเหสุ ในบรรดาสังคหะทั้ง ๖ เหล่านั้น [สงฺคโห การรวบรวมจิตและเจตสิกเหล่านั้น] เวทนาสงฺคเห ในเวทนาสังคหะ มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว ตาว เป็นลำดับแรก.
            เวทนา เวทนา โหติ ย่อมมี ติวิธา ๓ ประการ อิติ คือ สุขา จ สุขเวทนา ทุกฺขา จ ทุกขเวทนา อทุกฺขมสุขเวทนา จ และ อทุกขมสุขเวทนา. จ ปน ก็แล โหติ ย่อมมี ปญฺจธา ๕ ประการ ปเภเทน โดยการจำแนก [อินฺทฺริยเทสนาย ตามที่ทรงแสดงไว้ในพระบาฬีอินทรีย์วิภังค์] อิติ คือ สุขํ  จ สุขเวทนา ทุกฺขํ  จ ทุกขเวทนา โสมนสฺสํ จ โสมนัสเวทนา  โทมนสฺสํ จ โทมนัสเวทนา อุเปกฺขา จ และอุเบกขาเวทนา.

๔. ตตฺถ สุขสหคตํ กุสลวิปากํ กายวิญฺญาณเมกเมว, ตถา ทุกฺขสหคตํ อกุสลวิปากํ.
            . โสมนสฺสสหคตจิตฺตานิ ปน โลภมูลานิ จตฺตาริ, ทฺวาทส กามาวจรโสภนานิ, สุขสนฺตีรณหสนานิ จ ทฺเวติ อฏฺฐารส กามาวจรโสมนสฺสสหคตจิตฺตานิ เจว ปฐมทุติยตติยจตุตฺถชฺฌานสงฺขาตานิ จตุจตฺตาลีส มหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺตานิ เจติ ทฺวาสฏฺฐิวิธานิ ภวนฺติ.
. โทมนสฺสสหคตจิตฺตานิ ปน ทฺเว ปฏิฆสมฺปยุตฺตจิตฺตาเนว.
. เสสานิ สพฺพานิปิ ปญฺจปญฺญาส อุเปกฺขาสหคตจิตฺตาเนวาติ.

            ตตฺถ ในบรรดาเวทนาเหล่านั้น
            กายวิญฺญาณํ กายวิญญาณ กุสลวิปากํ ที่เป็นกุศลวิบาก เอกํ เอว ๑ ดวง เท่านั้น โหติ ย่อมเป็น สุขสหคตํ จิตที่เกิดร่วมกับสุขเวทนา. ตถา เช่นกัน กายวิญฺญาณํ กายวิญญาณ อกสุลวิปากํ ที่เป็นอกุศลวิบาก เอกํ เอว ๑ ดวงเท่านั้น โหติ ย่อมเป็น ทุกฺขสหคตํ จิตที่เกิดร่วมกับทุกขเวทนา.
            ปน ส่วน โสมนสฺสสหคตจิตฺตานิ จิตที่เกิดร่วมกับโสมนัสเวทนา ภวนฺติ ย่อมมี ทฺวาสฏฺฐิวิธานิ ๖๒ ดวง อิติ คือ กามาวจรจิตฺตานิ จ กามาวจรจิต อฏฺฐารส ๑๘ ดวง อิติ คือ โลภมูลานิ จ โลภมูลจิต จตฺตาริ ๔ ดวง, กามาวจรโสภณานิ จ กามาวจรโสภณจิต ทฺวาทส ๑๒ ดวง, สุขสนฺตีรณหสานิ จ และสุขสันตีรณและหสิตุปบาทจิต เทฺว รวม ๒ ดวง,  มหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺตานิ  จ มหัคคตจิตและโลกุตรจิต ปฐมทุติยตติยจตุตฺถชฺฌานสงฺขาตานิ กล่าวคือ ปฐมฌานจิต ทุติยฌานจิต ตติยฌานจิตและจตุตถฌานจิต จตุจตฺตาฬีส ๔๔ ดวง  .
            ปน อนึ่ง ปฏิฆจิตฺตานิ ปฏิฆจิต เทฺว สองดวง เอว เท่านั้น โหนฺติ ย่อมเป็น            โทมนสฺสสหคตานิ เป็นจิตที่เกิดร่วมกับโทมนัสเวทนา.
            ปญฺจปญฺญาส จิต ๕๕ ดวง  เสสานิ ที่เหลือ สพฺพานิปิ แม้ทั้งปวง [อิติ คือ ๖ ดวง เสสานิ ที่เหลือ อกุสลโต จากอกุศลจิต, จุทฺทส ๑๖ ดวง เสสานิ ที่เหลือ อเหตุกโต จากอเหตุกจิต, ทฺวาทส ๑๒ ดวง เสสานิ ที่เหลือ กามาวจรโสภณโต จากกามาวจรโสภณจิต  ปญฺจมชฺฌานิกานิ  ปัญจมฌานจิต เตวีส ๒๓ ดวง]  โหนฺติ ย่อมเป็น อุเปกฺขาสหคตจิตฺตานิ เอว จิตที่เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนานั่นเทียว อิติ ฉะนี้แล.
                       
                        .        สุขํ ทุกฺขมุเปกฺขาติ,      ติวิธา ตตฺถ เวทนาฯ
โสมนสฺสํ โทมนสฺส     มิติเภเทน ปญฺจธาฯ
.         สุขเมกตฺถ ทุกฺขญฺจ,     โทมนสฺสํ ทฺวเย ฐิตํฯ
ทฺวาสฏฺฐีสุ โสมนสฺสํ, ปญฺจปญฺญาสเกตราฯ
            ตตฺถ ในเวทนาสังคหะนั้น  เวทนา เวทนา ติวิธา มี ๓ ประการ อิติ คือ สุขํ สุขเวทนา, ทุกฺขํ ทุกขเวทนา อุเปกฺขา และอุเบกขาเวทนา. ปญฺจธา มี ๕ ประการ เภเทน โดยจำแนกออกไปอีก อิติ คือ โสมนสฺสํ โสมนัสเวทนา โทมนสฺสํ และโทมนัสเวทนา.
            สุขํ จ สุข ด้วย ทุกฺขญฺจ ทุกข์ด้วย ฐิตํ ตั้งอยู่ เอกตฺถ ในจิตดวง ๑, โทมนสฺสํ โทมนัสเวทนา ฐิตํ ตั้งอยู่ ทฺวเย ในจิต ๒ ดวง, โสมนสฺสํ โสมนัสเวทนา ,ฐิตํ ตั้งอยู่ ทฺวาสฏฺฐีสุ ในจิต ๖๒ ดวง, อิตรา อุเบกขาเวทนานอกนี้ ฐิตา ตั้งอยู่ ปญฺจปญฺญาสเก ในจิต ๕๕ ดวง.

๑๐. เหตุสงฺคเห เหตู นาม โลโภ โทโส โมโห อโลโภ อโทโส อโมโห จาติ ฉพฺพิธา ภวนฺติฯ
๑๑. ตตฺถ ปญฺจทฺวาราวชฺชนทฺวิปญฺจวิญฺญาณสมฺปฏิจฺฉนสนฺตีรณโวฏฺฐพฺพนหสนวเสน อเหตุกจิตฺตานิ นามฯ
๑๒. เสสานิ สพฺพานิปิ เอกสตฺตติ จิตฺตานิ สเหตุกาเนวฯ
๑๓. ตตฺถาปิ ทฺเว โมมูหจิตฺตานิ เอกเหตุกานิฯ
๑๔. เสสานิ ทส อกุสลจิตฺตานิ เจว ญาณวิปฺปยุตฺตานิ ทฺวาทส กามาวจรโสภนานิ เจติ ทฺวาวีสติ ทฺวิเหตุกจิตฺตานิฯ
๑๕. ทฺวาทส ญาณสมฺปยุตฺตกามาวจรโสภนานิ เจว ปญฺจติํส มหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺตานิ เจติ สตฺตจตฺตาลีส ติเหตุกจิตฺตานีติฯ
            เหตุสงฺคเห ในเหตุสังคหะ, เหตุโย นาม ชื่อว่า เหตุ ฉพฺพิธา ภวนฺติ มี ๖ ประการ อิติ คือ โลโภ จ โลภะ, โทโส จ โทสะ, โมโห จ โมหะ, อโลโภ จ  อโลภะ, อโทโส จ , อโทสะ, อโมโห จ และอโมหะ
           
            ตตฺถ ตสฺมึ เหตุสงฺคเห ในเหตุสังคหะนั้น
            อฏฺฐารส จิต ๑๘ ดวง ฺจทฺวาราวชฺชนทฺวิปฺจวิฺาณสมฺปฏิจฺฉนฺน-สนฺตีรณโวฏฺพฺพนหสนวเสน คือ ปัญจทวาราวัชชนะ ทวิปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต สันตีรณจิต โวฏฐัพพนจิตและหสิตุปบาทจิต อเหตุกานิ นาม ชื่อว่า              อเหตุกจิต.
            จิตฺตานิ จิต เอกสตฺตติ ๗๑ ดวง เสสานิ ที่เหลือ สพฺพานิปิ แม้ทั้งปวง            สเหตุกานิ เอว ชื่อว่า สเหตุกจิต นั่นเทียว.  
            โมมูหจิตฺตานิ โมมูหจิต เทฺว ๒ ดวง เอกเหตุกานิ ชื่อว่า เอกเหตุกจิต.
            ทฺวาวีสติ จิต ๒๒ ดวง อิติ คือ อกุสลจิตฺตานิ เจว อกุศลจิต ๑๐ เสสานิ            ที่เหลือ, กามาวจรโสภณานิ จ กามาวจรโสภณจิต ทฺวาทส ๑๒ ญาณวิปฺปยุตฺตานิ  ที่วิปยุตด้วยญาณ ทุเหตุกจิตฺตานิ ชื่อวา ทุเหตุกจิต.
            สตฺตจตฺตาฬีส จิต ๔๗ อิติ คือ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรโสภณานิ  เจว กามาวจรโสภณจิตที่สัมปยุตด้วยญาณ ทฺวาทส ๑๒ ดวง, มหคฺคตโลกุตฺตรจิตฺตานิ จ และมหัคตจิตกับโลกุตรจิต ฺจตฺตึส ๓๕ ดวง ติเหตกจิตฺตานิ ชื่อว่า ติเหตุกจิต.

                                    ๑๖.      โลโภ โทโส จ โมโห จ,
เหตู อกุสลา ตโย;
อโลภาโทสาโมโห จ,
กุสลาพฺยากตา ตถาฯ
            เหตู เหตุ อกุสลา ที่เป็นกุศล ตโย ๓ คือ โลโภ จ โลภะ โทโส จ โทสะ โมโห จ และโมหะ. ตถา เช่นกัน  เหตู เหตุ กุสลาพฺยากตาที่เป็นกุศลและอัพยากตะ ตโย อโลโภ จ อโลภะ อโทโส จ อโทสะ อโมโห จ   และอโมหะ.

            ๑๗.     อเหตุกาฏฺฐารเสกเหตุกา          ทฺเว ทฺวาวีสติฯ
ทฺวิเหตุกา มตา                                     สตฺตจตฺตาลีสติเหตุกาฯ

            อเหตุกา จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่ไม่มีเหตุ อฏฺฐารส๑๘, เอกเหตุกา ที่มีเหตุเดียว เทฺว ๒, ทุเหตุกา ที่มีเหตุ ๒ ทฺวิวีสติ ๒๒ , ติเหตุกา ที่มีเหตุ ๓ สตฺตจตฺตาฬีส ๔๗  [ปรมตฺถวิทูหิ อันท่านผู้รู้แจ้งปรมัตถ์] มตา กล่าวไว้.