อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
อุเปกฺขาสหคต จกฺขุวิฃฺฃาณํ, ตถา โสตวิฺาณ ฆานวิฺาณ ชิวฺหาวิฺาณ ทุกฺขสหคต กายวิฺาณ อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา สนฺตีรณฺเจติ อิมานิ สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ นาม.
อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [จ ดวงหนึ่ง], โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [จ ดวงหนึ่ง], ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [จ ดวงหนึ่ง], ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [จ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
อเหตุกจิต (๑๑) อธิบาย สันตรีณจิต
๘๖. กสฺมา ปน ยถา อกุสลวิปากสนฺตีรณ เอกเมว วุตฺต เอว อวตฺวา
กุสลวิปากสนฺตีรณ ทฺวิธา วุตฺตนฺติ.
อิฏฺอิฏฺมชฌตฺตารมฺมณวเสน
เวทนาเภทสมฺภวโต.
โจทนา ท้วง อิติ ว่า อกุสลวิปากสนฺตีรณํ
สันตีรณะฝ่ายอกุสลวิบาก อาจริเยน
อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้ เอกํ เอว เป็นดวงเดียวเท่านั้น ยถา
ฉันใด, กสฺมา เพราะเหตุไร กุสลวิปากสณฺตีรณํ สันตีรณะฝ่ายกุสลวิบาก อาจริเยน
ท่านอาจารย์ อวตฺวา จึงไม่กล่าว เอวํ เหมือนอกุสลสันตีรณวิบาก วุตฺตํ
แล้วกล่าวไว้ ทฺวิธา เป็นสองดวงเล่า?
ปริหาโร
ตอบ อิติ ว่า กุสลวิปากสนฺตีรณ สันตีรณฝ่ายกุศลวิบาก
อาจริเยน ท่านอาจารย์ วุตฺตํ
กล่าวแล้ว ทฺวิธา เป็นสองอย่าง เวทนาเภทสมฺภวโต เพราะมีความต่างกันแห่งเวทนา
อิฏฺฅอิฏฺฅมชฺฌตฺตารมฺมณวเสน ที่เนื่องด้วยอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์.
๘๗.
ยทิ เอว, ตตฺถาปิ อนิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตารมฺมณวเสน เวทนาเภเทน
ภวิตพฺพนฺติ.
นยิทเมวํ,
อนิฏฺารมฺมเณ
อุปฺปชฺชิตพฺพสฺสาปิ
โทมนสฺสสฺส ปฏิเฆน วินา อนุปฺปชฺชนโต
ปฏิฆสฺส จ เอกนฺตมกุสลสภาวสฺส อพฺยากเตสุ อสมฺภวโต. น หิ
ภินฺนชาติโก ธมฺโม ภินฺนชาติเกสุ
อุปลพฺภติ, ตสฺมา อตฺตนา
สมานโยคกฺขมสฺส อสมฺภวโต
อกุสลวิปาเกสุ โทมนสฺส น สมฺภวตีติ
ตสฺส ตสหคตตา น
วุตฺตา.
[โจทนา ท้วงอีก] อิติ
ว่า ยทิ ถ้าว่า เอว [= เวทนาเภโท ความต่างกันแห่งเวทนา
อารมฺมณเภเทน โดยความต่างกันแห่งอารมณ์
กุสลวิปากสนฺตีรเณ ในสันตีรณะฝ่ายกุศลวิบาก สิยา พึงมีไซร้], เวทนาเภเทน ความต่างกันแห่งเวทนา อนิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตารมฺมณวเสน ที่เนื่องด้วยอนิฏฐารมณ์และอนิฏฐมัชฌัตตารมณ์
ภวิตพฺพํ ก็ต้องมี ตตฺถาปิ[=อกุสลวิปากสนฺตีรเณ ในสันตีรณะฝ่ายอกุศลวิบาก] ได้สิ.
[ปริหาโร ตอบ] อิติ
ว่า อิทํ [=
ยถาวุตฺตเวทนาเภทภวนํ
ความต่างกันแห่งเวทนาดังที่กล่าวมา] น สิยา ไม่มี เอวํ [= ยถาวุตฺตอารมฺมณเภเทน
โดยความต่างกันแห่งอารมณ์ดังที่กล่าวมา[1],
กสฺมา เพราะเหตุไร ?] อนุปฺปชฺชนโต เพราะ - ปิ
แม้[2]
โทมนสฺสสฺส โทมนัสเวทนา อุปฺปชฺชิตพฺพสฺส ที่ควรจะเกิดได้ อนิฏฺฅารมฺมเณ ในอนิฏฐารมณ์ - จะไม่เกิด
วินา โดยเว้น ปฏิเฆน จากปฏิฆะ จ ด้วย [3]จ
และ อสมฺภวโต เพราะ - ปฏิฆสฺส ปฏิฆะ อกุสลสภาวสฺส ที่มีสภาวะเป็นอกุศล
[4]เอกนฺตํ
ได้อย่างเดียว - ไม่เกิด อพฺยากเตสุ ในอัพยากตะทั้งหลายได้เลย.[5]
[6]หิ
อันที่จริง ธมฺโม ธรรม ภินฺนชาติโก ซึ่งมีชาติแตกต่างกัน น อุปลพฺภติ
ย่อมไม่พบ ภินฺนชาติเกสุ ในธรรมที่มีชาติแตกต่างกัน, ตสฺมา
เพราะฉะนั้น โทมนสฺสํ โทมนัสสเวทนา น สมฺภวติ จึงไม่เกิด อกุสลวิปาเกสุ
ในอกุศลวิบากทั้งหลาย อสมฺภวโต
เพราะ - [ปฏิฆสฺส ปฏิฆะ] สมานโยคกฺขมสฺส
[ = สมานโยเค
สมตฺถสฺส] ซึ่งสามารถประกอบร่วม[7]
อตฺตนา กับตน - ไม่มี [อพฺยากเตสุ
ในอัพยากตธรรม]
อิติ ดังนั้น ตํสหคตตา
[= โทมนสฺเสน
สหคตตา] การที่ -
ตสฺส [= อกุสลวิปากสนฺตีรณสฺส]
สันตีรณฝ่ายอกุศลวิบาก - ประกอบกับโทมนัสสเวทนา อาจริเยน ท่านอาจารย์ น
วุตฺตา จึงไม่กล่าวไว้.
[1] หรืออีกนัยหนึ่ง
อิท อกุสลวิปากสนฺตีรณ สันตีรณะฝ่ายอกุศลวิบากนี้ น
สิยา ไม่พึงเป็น เอว = ตถา อย่างนั้น. หรืออีกนัยหนึ่ง อิทํ
ยถาวุตฺตวจนํ คำพูดดังกล่าว น สิยา ไม่พึงมี เอวํ ยถาวุตฺเตนตฺเถน
โดยความหมายดังกล่าวมานี้หรอก.
[2] มณิ.
ให้ปิ มีอรรถสัมปิณฑนะ จึงได้ความอีกนัยหนึ่งว่า ใช่ว่าปฏิฆะเท่านั้น
ที่เว้นโทมนัสเวทนาจะไม่เกิด ก็หามิได้,
ความจริงโทมนัสเวทนาเว้นปฏิฆะก็ไม่เกิด.
แต่ในโยชนา ให้มีอรรถสัมภาวนะ จึงได้ความดังที่แปลไว้นั้น.
[3] มีปุจฉานุสนธิดังนี้
ถ้าว่า แม้โทมนัส ต้องเกิดขึ้นพร้อมกับปฏิฆะเท่านั้น, เว้นปฏิฆะไม่เกิดแล้ว
ก็เข้าใจแล้ว, ถ้าเป็นเช่นนั้น ในอกุศลวิบากสันตีรณะนี้ ต้องมีโทมนัสและปฏิฆะนะสิ.
[4] คำนี้ถือว่าเป็น
เหตุอันโตคธวิเสสนะ วิเสสนะที่มีเหตุอยู่ภายใน หรือเป็นวิเสสนะในเชิงเหตุ ของ
ปฏิฆสฺส ดังนั้น ได้ความหมายอีกนัยหนึ่งว่า ปฏิฆะ
เพราะปฏิฆะมีสภาพเป็นอกุศลได้โดยส่วนเดียว. หมายความว่า ถ้าปฏิฆะ
พึงมีสภาวะเป็นอัพยากตะได้ไซร้, แม้ในสันตีรณอกุศลวิบาก
ต้องมีโทมนัสพร้อมปฏิฆะนะสิ, แต่ปฏิฆะเป็นอกุศลโดยส่วนเดียว, ดังนั้น
ข้อที่ว่ามานี้ จึงมีไม่ได้.
[5] อธิบายว่า
ถ้าโทมนัสยังเกิดได้โดยเว้นปฏิฆะได้ แม้ในอกุสลวิปากสันตีรณะ
ก็จะมีโทมนัสพร้อมทั้งปฏิฆะได้, แต่ เว้นปฏิฆะ โทมนัสเกิดไม่ได้ เพราะฉะนั้น
ข้อที่ว่ามานั้นจึงเป็นไปไม่ได้.
[6] คำนี้แก้ปัญหาที่ว่า
ถ้าปฏิฆะ เป็นอกุศลได้อย่างเดียว ก็ไม่เป็นไร เข้าใจแล้ว, แต่เมื่อเป็นเช่นนี้
ทำไมปฏิฆะจึงเกิดในอัพยากตะไม่ได้.
[7] มณิ.
ให้ความหมายของคำว่า สมานโยคกฺขมสฺส ว่า สมานโยเค สมตฺถสฺส ปฏิฆสฺส
ปฏิฆะที่สามารถในการประกอบเป็นธรรมเท่ากับตน.
ในที่นี้หมายถึงธรรมที่สัมปยุตหรือสหรคตกับตนซึ่งควรเกิดร่วมกันหรือเข้าเป็นพวกเดียวกันกับตนได้นั่นเอง
ดังในอุปริปัณณาสฏีกา อนุปทสูตร ว่า "ตํสมานโยคกฺขมา หิ สมฺปยุตฺตธมฺมา
สัมปยุตตธรรม ย่อมเป็นธรรมที่ควรประกอบกับตน" และเนตติฏีกาว่า ยุชฺชนฺตีติ วา ยุตฺตา โหนฺติ, เตหิ สมานโยคกฺขมา ตคฺคหเณเนว คหิตา โหนฺตีติ อตฺโถ ตเทกฏฺฐภาวโต
คำว่า ยุชฺชนฺติ แปลว่า เป็นธรรมที่ประกอบ, ด้วยคำว่า ยุชชนฺติ
ธรรมที่ควรประกอบร่วมกับตน จึงถือเอาด้วย เพราะตั้งอยู่ในสภาพเดียวกัน. ดังนั้น ขณะที่โทมนัสสเวทนา
ย่อมประกอบกับปฏิฆะในโทสมูลจิต และมีอารมณ์เป็นอนิฏฐารมณ์เท่านั้นแต่ในอัพยากตจิต
(อเหตุกจิต) ไม่มีปฏิฆะ มีแต่เพียงอนิฏฐารมณ์ โทมนัสเวทนาจึงไม่มี. [ความเห็นส่วนตัว - สมภพ]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น