วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2559

อเหตุกจิต ๑๓

อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
       อุเปกฺขาสหคต   จกฺขุวิฃฺฃาณํ,  ตถา  โสตวิฺาณ   ฆานวิฺาณ  ชิวฺหาวิฺาณ  ทุกฺขสหคต  กายวิฺาณ  อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา   สนฺตีรณฺเจติ  อิมานิ  สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ  นาม.
          อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [ ดวงหนึ่ง]โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [ ดวงหนึ่ง]ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [ ดวงหนึ่ง]ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา 
อเหตุกจิต (๑๓) อธิบายเหตุที่สันตีรณจิตเป็นต้นเป็นอุเบกขาเวทนา (ต่อ)

               ๘๙. จกฺขุวิาณาทีนิ  ปน  จตฺตาริ  อุภยวิปากานิปิ  วตฺถารมฺมณฆฏนาย  ทุพฺพลภาวโต  อนิฏฺเปิ  อิฏฺเปิ  จ  อารมฺมเณ อุเปกฺขาสหคตานิ.  เตสฺหิ  จตุนฺนมฺปิ  วตฺถุภูตานิ  จกฺขฺวาทีนิ อุปาทารูปาเนว.    ตถา  อารมฺมณภูตานิปิ  รูปาทีนิ.  อุปาทารูปเกน จ  อุปาทารูปสฺส  สงฺฆฏน  อติทุพฺพล  ปิจุ-ปิณฺฑเกน  ปิจุปิณฺฑกสฺส  ผุสน  วิย  ตสฺมา  ตานิ  สพฺพตฺถาปิ  อุเปกฺขาสหคตาเนว.

          [1]ปน ก็ อุภยวิปากานิ วิบาก ๒ ฝ่ายคือกุศลวิบากและอกุศลวิบาก จตฺตาริ ๔ ดวง จกฺขุวิฃฺฃาณาทีนิ มีจักขุวิญญาณเป็นต้น อุเปกฺขาสหคตานิ เป็นจิตที่ประกอบกับอุเบกขาเวทนา อารมฺมเณ ในอารมณ์ อนิฏฺเฅปิ ทั้งที่เป็นฝ่ายไม่ดี อิฏฺเฅปิ และที่เป็นฝ่ายดี ทุพฺพลภาวโต เพราะความที่ - วตฺถารมฺมณฆฏนาย การกระทบกันระหว่างอารมณ์กับวัตถุ - มีกำลังน้อย.  หิ แท้ที่จริง จกฺขฺวาทีนิ จักขุเป็นต้น วตฺถุภูตานิ ที่เป็นวัตถุ (ที่อาศัยเกิด) [อุภยวิปากานํ แห่งวิบากสองฝ่าย จกฺขุวิฃฺฃาณาทีนํ มีจักขุวิญญาณเป็นต้น] เตสํ เหล่านั้น จตุนฺนมฺปิ แม้ทั้ง ๔ อุปาทารูปานิ เอว เป็น อุปาทารูปทั้งนั้น. รูปาทีนิ อารมณ์มีรูปเป็นต้น อารมฺมณภูตานิปิ ที่เป็นอารมณ์  ตถา  เป็นอุปาทารูปเช่นกัน. อนึ่ง สงฺฆฏนํ การกระทบกัน อุปาทารูปสฺส ระหว่างอุปาทารูป อุปาทารูปเกน กับอุปาทารูป อติทุพฺพลํ มีกำลังเล็กน้อยเหลือเกิน วิย เหมือนกับ ผุสนํ การกระทบ ปิจุปิณฺฑกสฺส ระหว่างก้อนปุยนุ่น ปิจุปิณฺฑเกน กับก้อนปุยนุ่น ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตานิ จักขุวิญญาณเป็นต้น อุเปกฺขาสหคตานิ เอว ล้วนเป็นจิตที่สหรคตกับอุเบกขา สพฺพตฺถาปิ ในอารมณ์แม้ทั้งสิ้น.



[1] ข้อนี้มีปุจฉานุสนธิดังนี้. เพราะเหตุไร จักขุวิญญาณที่มีอารมณ์เป็นอิฏฐะและอนิฏฐะยังคงมีเวทนาเป็นอุเบกขาอยู่อีกเล่า ความจริงน่าจะมีเวทนาเป็นทุกข์ เพราะกระทบอนิฏฐารมณ์ และเป็นสุข เมื่อกระทบกับอิฏฐารมณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น