วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559

อเหตุกจิต ครั้งที่ ๑๔ อธิบายเหตุที่ทุกขสคตกายวิญญาณจิตมีเวทนาเป็นทุกข์

อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
       อุเปกฺขาสหคต   จกฺขุวิฃฺฃาณํ,  ตถา  โสตวิฺาณ   ฆานวิฺาณ  ชิวฺหาวิฺาณ  ทุกฺขสหคต  กายวิฺาณ  อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา   สนฺตีรณฺเจติ  อิมานิ  สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ  นาม.
          อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [ ดวงหนึ่ง]โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [ ดวงหนึ่ง]ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [ ดวงหนึ่ง]ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********

อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา 
                อเหตุกจิต (๑๔) อธิบายเหตุที่อกุสลวิบากกายวิญญาณจิตมีเวทนาเป็นทุกข์
              ๙๐. กายวิาณสฺส  ปน  โผฏฺพฺพสงฺขาต  ภูตตฺตยเมว  อารมฺมณนฺติ  ตกายปฺปสาเท  สงฺฆฏิตมฺปิ  ต  อติกฺกมิตฺวา  ตนฺนิสฺสเยสุ  มหาภูเตสุ ปฏิหติ.  ภูตรูเปหิ  จ  ภูตรูปาน  สงฺฆฏน  พลวตร  อธิกรณีมตฺถเก ปิจุปิณฺฑก  เปตฺวา  กูเฏน  ปหต-กาเล  กูฏสฺส  ปิจุปิณฺฑกอติกฺกมิตฺวา  อธิกรณีคหณ  วิย,   ตสฺมา  วตฺถารมฺมณฆฏนาย พลวภาวโต  กายวิาณ  อนิฏฺเ  ทุกฺขสหคต  อิฏฺเ  สุขสหคตนฺติ.
          ปน แต่ ภูตตฺตยํ เอว ภูตรูป ๓ เท่านั้น โผฏฺฅพฺพสงฺขาตํ [= โผฏฺฅพฺพกถิตํ] ที่เรียกว่า โผฏฐัพพะ อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ กายวิฃฺฃาณสฺส ของกายวิญญาณ [1]อิติ ดังนั้น ตํ ภูตตฺตยํ ภูตรูป ๓ นั้น สงฺฆฏิตมฺปิ ซึ่งกระทบ กายปฺปสาเท ที่กายปสาทรูป อติกฺกมิตฺวา ล่วงเลย ตํ [=กายปฺปสาทํ] กายปสาทนั้นแล้ว ปฏิหฃฺฃติ ไปกระทบ มหาภูเตสุ ที่มหาภูตรูป ตนฺนิสฺสเยสุ ซึ่งเป็นที่อาศัยของกายปสาทนั้น. ก็ สงฺฆฏฺฏนํ การ - ภูตรูเปหิ ที่ภูตรูป - กระทบ ภูตรูปานํ กับภูตรูป พลวตรํ มีกำลังยิ่ง[2] วิย เหมือนกับ อธิกรณีคหณํ การที่ - กูฏสฺส ฆ้อนเหล็ก อติกฺมิตฺวา ล่วงเลย  ปิจุปิณฺฑกํ ปุยนุ่น - มากระทบถูกทั่ง ปหตกาเล ในกาล - ปุคฺคลสฺส ที่บุคคล ฐเปตฺวา วาง ปิจุปิณฺฑกํ ปุยนุ่น อธิกรณีมตฺถเก บนหน้าทั่ง[3] - แล้วตี กูเฏน ด้วยฆ้อนเหล็ก[4]ฉะนั้น ตสฺมา เพราะเหตุนั้น กายวิฃฺฃาณํ ทุกฺขสหคตํ เป็นจิตสหรคตกับทุกข์  อนิฏฺเฅปิ ในอนิฏฐารมณ์ สุขสหคตํ เป็นจิตสหรคตกับสุข อิฏฺเฅปิ ในอิฏฺฐารมณ์  พลวภาวโต เพราะความที่ - วตฺถารมฺมณฆฏนาย การกระทบกันระหว่างวัตถุและอารมณ์ - มีกำลัง อิติ เช่นนี้แล. [5]



[1] ปุจฉานุสนธิว่า ความจริง แม้กายวิญญาณ ซึ่งเป็นวิบากของกุศลและอกุศลสองฝ่าย ก็น่าจะเป็นอุเบกขาสหคตจิตเช่นกัน  แม้ในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ ไม่น่าจะเป็นทุกขสหคตจิตและสุขสหคตจิต, แต่ไม่เป็นเช่นนี้ กลับเป็นสุขสหคตจิตและทุกขสหคตจิตได้อย่างไร?
[2] ปุจฺฉานุสนธิว่า ภูตรูปคือโผฏฐัพพะและภูตรูปคือวัตถุ มากระทบกันและกันก็เข้าใจแล้ว, เมื่อมันกระทบกันดังนั้นแล้ว น่าจะไม่แรงเหมือนกับการที่อุปาทารูปคือจักขุปสาทรูปเป็นต้นกระทบอุปาทารูปคือรูปารมณ์เป็นต้น?
[3] อธิกริยติ  อาธาริยติ  ปติฏฺาติ  เอตฺถ  วตฺถุมฺหีติ  อธิกรณี. อธิ +  กร  กรณ  + ยุ อธิกรณสาธนะ + อี. บุคคลย่อมรองรับ คือ ตั้ง ในวัตถุนี้ เพราะเหตุนั้น วัตถุนี้ จึงชื่อว่า อธิกรณี ทั่ง. หรืออีกนัยหนึ่ง กูเฏน ปกรณกิจฺจํ อธิกโรติ เอตฺถาติ อธิกรณี, มุฏฺฐิ สถานที่เป็นที่รองรับซึ่งกิจคือการตีด้วยฆ้อนเหล็ก. บางครั้งใช้คำว่า มุฏฺฐิ แทน
 อามสิยตีติ  มตฺถกอุปริฏฺาน.  สิ่งที่ถูกบุคคลลูบคลำ เรียกว่า มตฺถก ได้แก่ บริเวณที่อยู่ด้านบน. มส  อามสเน ลูบคลำ + โก  แปลง ส เป็น ตถ. 
อธิกรณิยา มตฺถก  อธิกรณีมตฺถก  ฯ  บริเวณด้านบนแห่งทั่ง เรียกว่า อธิกรณีมตฺถก หน้าทั่ง
[4] กุฏติ  หึสติ  ปหรติ  เอเตน  อโยฆเนน ชโนติ  กูโฏ. ก้อนเหล็กที่บุคคลใช้ตี ชื่อว่า กูฏ ฆ้อน. กุฏ  = หึสา ทำร้าย +  อ  กรณสาธนะ.  อีกนัยหนึ่ง เป็นศัพท์ที่ไม่ต้องหารูปวิเคราะห์ แปลว่า ก้อนเหล็ก
[5] สรุปได้ว่า ถ้าว่ากายวิญญาณกระทบเพียงโผฏฐัพพารมณ์ที่กายปสาทเท่านั้น, หาได้กระทบที่มหาภูตรูปที่เป็นวัตถุไม่, การกระทบกับระหว่างภูตรูปและอุปาทารูป ก็น่าจะมีกำลังน้อย เหมือนอย่างการที่อุปาทารูปทั้งสองกระทบกัน. แต่โผฏฐัพพารมณ์นั้น แม้ว่าจะกระทบที่กายปสาท ก็ย่อมล่วงเลยกายปสาทนั้นไปกระทบที่มหาภูตรูปซึ่งเป็นวัตถุของกายปสาทได้. อนึ่ง การกระทบกันของภูตรูปทั้งสอง มีกำลังแรงยิ่ง เพราะทั้งสองต่างก็เป็นภูตรูป เพราะฉะนั้น กายวิญญาณ จึงมิได้เป็นเพียงอุเบกขาสหคตจิตเท่านั้น ในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เหมือนดังเช่นจักขุวิญญาณเป็นต้น แต่กลับเป็นสุขสหคตจิตและทุกขสหคตจิตทีเดียว ตามสมควรแก่วิบากเช่นนี้แล.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น