อภิธัมมัตถสังคหะ
---
ทุติโย ปริจฺเฉโท
ปริจฺเฉโท ปริจเฉท
ทุติโย ที่ ๒ มยา อันข้าพเจ้า วุจฺจเต จะกล่าว.
เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพนวตฺถุกา
เจโตยุตฺตา ทฺวิปฺาส ธมฺมา
เจตสิกา มตา ฯ
ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ทฺวิปฃฺฃาส
๕๒ เจโตยุตฺตา ที่ประกอบด้วยจิต เอกุปฺปาทนิโรธา จ
มีการเกิดขึ้นและดับไปพร้อม [จิตฺเตน ด้วยจิต] เอกาลมฺพนวตฺถุกา จ มีอารมณ์และวัตถุเป็นอันเดียวกัน
[จิตฺเตน ด้วยจิต] ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต มตา กล่าวแล้ว [อิติ ว่า] เจตสิกา
เจตสิก.
***********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
---
ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา
ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา การอธิบายซึ่งปริจเฉทที่
๒
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๑๕๙. เอว ตาว
จิตฺต
ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน ยถารห วิภชิตฺวา อิทานิ เจตสิกวิภาคสฺส อนุปฺปตฺตตฺตา
ปม ตาว จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน เจตสิกลกฺขณ ฅเปตฺวา ตทนนฺตร
อฺสมานอกุสลโสภณวเสน ตีหิ
ราสีหิ เจตสิกธมฺเม
อุทฺทิสิตฺวา เตส โสฬสหากาเรหิ
สมฺปโยค เตตฺตึสวิเธน สงฺคหฺจ
ทสฺเสตุ เอกุปฺปาทนิโรธา จาติอาทิมารทฺธ.
อิทานิ บัดนี้
อนุปฺปตฺตตฺตา ก็เพราะความที่ - เจตสิกวิภาคสฺส การจำแนกเจตสิก -
ถึงแล้วโดยลำดับ[1] เอกุปฺปาทนิโรธา
จ อิติ อาทิ วจนํ คำเริ่มต้นว่า เอกุปฺปาทนิโรธา จ ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วิภชิตฺวา ครั้นจำแนก จิตฺตํ จิต ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน
ตามความต่างกันแห่ง ภูมิ ชาติ สัมปโยค สังขาร ฌาน อารมณ์และมรรค ยถารหํ
ตามสมควร[2] เอวํ
อย่างนี้ ตาว ก่อนแล้ว อารทฺธํ จึงเริ่มขึ้นไว้[3] ทสฺเสตุ
เพื่อที่จะ - ฅเปตฺวา วาง เจตสิกลกฺขณํ ลักษณะของเจตสิก จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน
เนื่องด้วยจะชี้ลักษณะคือการประกอบกัน ๔ ประการ ปฅมํ เป็นลำดับแรก อุทฺทิสิตฺวา
แล้วแสดง เจตสิกธมฺเม เจตสิกธรรม ราสีหิ โดยเป็นกอง ตีหิ สาม
อฺสมานอกุสลโสภณวเสน โดยเกี่ยวกับเป็นอัญญสมานเจตสิก อกุศลเจตสิก และโสภณเจตสิก
ตทนนฺตรํ ไว้ในลำดับแห่งการวางลักษณะคือการประกอบกัน ๔ ประการนั้น - แล้วจึงแสดง
สมฺปโยคํ ซึ่งสัมปโยคะ โสฬสหากาเรหิ
โดยอาการ ๑๖ จ ด้วย สงฺคหํ ซึ่งสังคหะ [4] จ ด้วย เตสํ แห่งเจตสิกเหล่านั้น เตตฺตึสวิเธน
[สงฺคเหน โดยสังคหนัย] มีประการ
๓๓ ตาว โดยลำดับ[5].
[2] หมายความว่า
แสดงการจำแนกไปตามสมควรแก่จิตในภูมินั้น คือ แสดงการจำแนกกามาวจรจิต โดยประเภทแห่งภูมิ
ชาติ สัมปโยคะและสังขาร. รูปาวจรจิตโดยประเภทแห่งฌาน,
อรูปาวจรจิตโดยประเภทแห่งอารมณ์และโลกุตตรจิตโดยประเภทแห่งมรรค ตามสมควร.
[3] ด้วยข้อความนี้แสดงว่า
ประมวลเนื้อความของเจตสิกปริจเฉท นี้มีอยู่ ๔ ประการคือ ๑.
ลักษณะแห่งความเป็นเจตสิก ๔ ประการ มีการเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นต้น, ๒.
เจตสิกธรรมเหล่านี้ถูกยกขึ้นแสดงเป็น ๓ กลุ่ม, ๓. สัมปโยคนัยของเจตสิกเหล่านั้น
(การประกอบกับจิตแห่งเจตสิก) มีโดยอาการหรือ ๑๖ ประเภท. ๔.
การสงเคราะห์จิตที่มีเจตสิกประกอบมี ๓๓ อย่าง.
[4] สัมปโยคะ
ได้แก่ การที่เจตสิกประกอบในจิตตุปบาทที่สมควรโดยประการเป็นต้นว่า
มีการเกิดขึ้นพร้อมกัน เป็นต้นร่วมกัน [เจตสิกแต่ละดวงมีอยู่ในจิตกี่ดวงตามที่จะประกอบได้].
ส่วนสังคหะ ได้แก่
ภาวะที่เจตสิกเหล่านั้นประชุมกันแล้วพึงถูกถือเอา [การนับจำนวนว่าในจิตแต่ละดวงมีเจตสิกเท่าใด].
[5] แปลตามนัยของโยชนาที่แสดงว่า
ตาว ศัพท์ ได้แก่ โดยลำดับแห่งการกระทำมีการตั้งลักษณะเป็นต้น. แต่ในมณิ.
ให้แปลเป็นบทไขความของ ปฅมํ. ถ้าเอาตามนัยที่มาในมณิ. ก็จะได้คำแปลว่า ปฅมํ = ตาว ก่อนจะแสดงเจตสิกธรรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น