ทุติโย ปริจฺเฉโท
ปริจฺเฉโท ปริจเฉท
ทุติโย ที่ ๒ มยา อันข้าพเจ้า วุจฺจเต จะกล่าว.
เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพนวตฺถุกา
เจโตยุตฺตา ทฺวิปฺาส ธมฺมา
เจตสิกา มตา ฯ
ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ทฺวิปฃฺฃาส
๕๒ เจโตยุตฺตา ที่ประกอบด้วยจิต เอกุปฺปาทนิโรธา จ
มีการเกิดขึ้นและดับไปพร้อม [จิตฺเตน ด้วยจิต] เอกาลมฺพนวตฺถุกา จ มีอารมณ์และวัตถุเป็นอันเดียวกัน
[จิตฺเตน ด้วยจิต] ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต มตา กล่าวแล้ว [อิติ ว่า] เจตสิกา
เจตสิก.
กถ ฯ
ผสฺโส เวทนา สฺา
เจตนา เอกคฺคตา ชีวิตินฺทฺริย มนสิกาโร เจติ
สตฺติเม เจตสิกา สพฺพจิตฺตสาธารณา นาม ฯ
[ธมฺมา
ธรรมทั้งหลาย ทฺวิปฃฺฃาส ๕๒ เจโตยุตฺตา ที่ประกอบด้วยจิต] กถํ เป็นอย่างไร ?
เจตสิกา
เจตสิกทั้งหลาย สตฺต ๗ อิเม เหล่านี้ อิติ คือ
ผสฺโส
จ ผัสสะ สภาวะที่กระทบอารมณ์
เวทนา
จ เวทนา สภาวะที่เสวยรสแห่งอารมณ์
สฃฺฃา
จ สัญญา สภาวะที่จำอารมณ์
เจตนา
จ เจตนา สภาวะที่จัดแจงสัมปยุตธรรมไว้ในอารมณ์
เอกคฺคตา
จ เอกัคคตา สภาวะที่ทำให้จิตมีอารมณ์เดียว
ชีวิตนฺทฺรียํ จ ชีวิตินทรีย์ สภาวะที่เป็นใหญ่ในการยังสัมปยุตธรรมให้เป็นอยู่
มนสิกาโร จ และมนสิการ
สภาวะที่ทำให้สัมปยุตธรรมให้มุ่งตรงต่ออารมณ์
สพฺพจิตฺตสาธารณา
นาม ชื่อว่า สัพพจิตตสาธารณะ เจตสิกที่ทั่วไปคือประกอบกับจิตทุกดวงเสมอ.
วิตกฺโก วิจาโร
อธิโมกฺโข วิริย ปีติ
ฉนฺโท เจติ ฉ อิเม
เจตสิกา ปกิณฺณกา นาม ฯ
เจตสิกา เจตสิก ฉ
๖ ดวง อิเม เหล่านี้ อิติ คือ
วิตกฺโก
จ วิตก สภาวะที่ยกสัมปยุตธรรมขึ้นสู่อารมณ์
วิจาโร จ วิจาร
สภาวะที่เคล้าคลึงคือพิจารณาอารมณ์ติดตามวิตกนั้น
อธิโมกฺโข จ อธิโมกข์ สภาวะที่ตัดสินอารมณ์
วิริยํ จ วิริยะ สภาวะที่พยายาม คือ ค้ำจุนสัมปยุตธรรมให้ตั้งในอารมณ์มิให้ท้อถอย
ปีติ จ สภาวะที่อิ่มใจในอารมณ์
ฉนฺโท จ และฉันทะ ธรรมชาติที่พอใจในอารมณ์
ปกิณฺณกา นาม ชื่อว่า ปกิณณกเจตสิก
เจตสิกที่ประกอบกับจิตทั่วไป แต่เป็นเพียงบางส่วน ไม่ใช่ทั้งหมด.
เอวมิเม
เตรส เจตสิกา อฺสมานาติ
เวทิตพฺพา ฯ
เจตสิกา
เจตสิก เตรส ๑๓ ดวง อิเม เหล่านี้ เอวํ ดังที่กล่าวมานี้ ปณฺฑิเตน
อันบัณฑิต เวทิตพฺพา พึงทราบ อิติ ว่า อฃฺฃสมานา
เป็นอัญญสมานาเจตสิก เจตสิกที่มีสภาพเหมือนกับจิตที่ตนประกอบอยู่.
*************
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น