วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2559

อเหตุกจิต ๑๒

อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
       อุเปกฺขาสหคต   จกฺขุวิฃฺฃาณํ,  ตถา  โสตวิฺาณ   ฆานวิฺาณ  ชิวฺหาวิฺาณ  ทุกฺขสหคต  กายวิฺาณ  อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา   สนฺตีรณฺเจติ  อิมานิ  สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ  นาม.
          อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [ ดวงหนึ่ง]โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [ ดวงหนึ่ง]ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [ ดวงหนึ่ง]ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา 
อเหตุกจิต (๑๒) อธิบายเหตุที่สันตีรณจิตเป็นต้นประกอบด้วยอุเบกขาเวทนา
              ๘๘. อถวา.   ยถา  โกจิ  พลวตา  พาธิยมาโน ทุพฺพลปุริโส   ตสฺส  ปฏิปฺผริตุ      อสกฺโกนฺโต  ตสฺมึ  อุเปกฺขโกว  โหติ,   เอวเมว  อกุสลวิปากานปริทุพฺพลภาวโต อนิฏฺารมฺมเณปิ  โทมนสฺสุปฺปาโท  นตฺถีติ  สนฺตีรณอุเปกฺขาสหคตเมว ฯ

          อถวา อีกอย่างหนึ่ง, ทุพฺพลปุริโส บุรุษมีกำลังทราม โกจิ บางคน พลวตา อันบุคคลผู้มีกำลัง พาธิยมาโน เบียดเบียนอยู่, อสกฺโกนฺโต ไม่อาจ ปฏิปฺปผริตุ  เพื่อตอบโต้ ตสฺส พลวโต แก่เขาได้ โหติ จึงเป็น อุเปกฺขโก ว ผู้วางเฉยเท่านั้น  ตสฺมึ  พลวติ ในบุรุษนั้น ยถา ฉันใด, โทมนสฺสุปฺปาโท การเกิดขึ้นแห่งโทมนัส  อนิฏฺฅารมฺมเณปิ แม้ในอนิฏฐารมณ์ นตฺถิ ย่อมไม่มี ปริทุพฺพลภาวโต เพราะ - อกุสลวิปากานํ อกุศลวิบาก - เป็นสภาพมีกำลังน้อย เอวํ เอว  ฉันนั้นนั่นเทียว อิติ เพราะฉะนั้น สนฺตีรณํ สันตีรณะ อุเปกฺขาสหคตํ เอว เป็นจิตที่ประกอบกับอุเบกขาเวทนาเท่านั้น. [1]




[1] พึงทราบการเทียบเคียงอุปมาดังนี้  "การที่อนิฏฐารมณ์ซึ่งมีกำลังถึงความเป็นอารมณ์แห่งอกุสลวิบากซึ่งมีกำลังน้อย เหมือนกับการที่บุคคลมีกำลังทุบตีบุคคลมีกำลังน้อย, การที่บุคคลผู้มีกำลังน้อยวางเฉย และไม่โต้ตอบในบุคคลผู้มีกำลังนั้น เปรียบเหมือนกับ การที่อกุสลวิบากสันตีรณะที่มีกำลังน้อยต้องประกอบกับอุเบกขาเท่านั้น ไม่ประกอบด้วยโทมนัส ในอนิฏฐารมณ์ ซึ่งมีกำลัง."

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น