วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2560

อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค (โสภณเจตสิก)

  (โสภณเจตสิก)     

            สทฺธา  สติ  หิริ  โอตฺตปฺป อโลโภ  อโทโส  ตตฺรมชฺฌตฺตตา  กายปสฺสทฺธิ  จิตฺตปสฺสทฺธิ กายลหุตา  จิตฺตลหุตา  กายมุทุตา  จิตฺตมุทุตา  กายกมฺมฺตา จิตฺตกมฺมฺตา  กายปาคุฺตา  จิตฺตปาคุฺตา  กายุชุกตา  จิตฺตุชุกตา   เจติ  เอกูนวีสตีเม  เจตสิกา  โสภณสาธารณา  นาม  ฯ
            เจตสิกา เจตสิก ทั้งหลาย เอกูนวีสติ ๑๙ ดวง อิเม เหล่านี้ อิติ คือ
            สทฺธา จ สัทธา ธรรมชาติที่เชื่อเลื่อมใสในอารมณ์
            สติ  จ สติ ธรรมชาติที่ระลึกได้ในอารมณ์
            หิริ  จ หิริ ธรรมชาติที่ละอายรังเกียจบาปมีกายทุจริตเป็นต้น
            โอตฺตปฺปญฺ จ โอตตัปปะ ธรรมชาติที่เกรงกลัวบาปมีกายทุจริตเป็นต้น
            อโลโภ  จ อโลภะ ธรรมชาติที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะ
            อโทโส จ อโทสะ  ธรรมชาติที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโทสะ
            ตตฺรมชฺฌตฺตตา จ  ตัตตรมัชฌัตตตา ธรรมชาติที่ทำให้สัมปยุตธรรมวางเฉยในอารมณ์
            กายปสฺสทฺธิ  จ กายปัสสัทธิ ความสงบแห่งกาย
            จิตฺตปสฺสทฺธิ จ จิตตปัสสัทธิ ความสงบแห่งใจ
            กายลหุตา  จ กายลหุตา ความเบาแห่งกาย
            จิตฺตลหุตา จ จิตตลหุตา  ความเบาแห่งจิต
            กายมุทุตา  จ กายมุทุตา ความอ่อนแห่งกาย
            จิตฺตมุทุตา จ จิตตมุทุตา ความอ่อนแห่งจิต
            กายกมฺมญฺญตา จ กายกัมมัญญตา ความสำเร็จประโยชน์ในการงานแห่งกาย
            จิตฺตกมฺมญฺญตา  จ จิตตกัมมัญญตา ความสำเร็จประโยชน์ในการงานแห่งจิต
            กายปาคุญฺญตา  จ กายปาคุญญตา ความคล่องแคล่วแห่งกาย
            จิตฺตปาคุญฺญตา จ จิตตปาคุญญตา ความคล่องแคล่วแห่งจิต
            กายุชุกตา จ กายุชุกตา ความตรงแห่งกาย
            จิตฺตุชุกตา จิตตุชุกตา ความตรงแห่งจิต
            โสภณสาธารณา นาม ชื่อว่า โสภณสาธารณเจตสิก เจตสิกที่ทั่วไปแก่ โสภณจิตทุกดวง.
           
            สมฺมาวาจา  จ สมฺมากมฺมนฺโต จ สมฺมาอาชีโว  เจติ  ติสฺโส  วิรติโย  นาม  ฯ  กรุณา มุทิตา  ปน  อปฺปมฺา  นามาติ  สพฺพถาปิ  ปฺินฺทฺริเยน  สทฺธิ ปฺจวีสตีเม เจตสิกา โสภณาติ เวทิตพฺพา ฯ
            เจตสิกา เจตสิกทั้งหลาย ติสฺโส อิเม เหล่านี้ อิติ คือ
            สมฺมาวาจา  จ สัมมาวาจา วาจาที่เป็นเหตุกล่าวชอบคือเว้นจากวจีทุจริต ๔
            สมฺมากมฺมนฺโต จ สัมมากัมมันตะ การงานชอบคือเว้นจากกายทุจริต ๓
            สมฺมาอาชีโว และสัมมาอาชีวะ ความเลี้ยงชีพชอบ คือ เว้นจากมิจฉาวชีวะ.
            วิรติโย นาม ชื่อว่า วิรตีเจตสิก .
            ปน อนึ่ง [เจตสิกา เจตสิกทั้งหลาย เทฺว ๒ ดวง อิเม เหล่านี้ อิติ คือ]
            กรุณา จ กรุณา  ธรรมชาติที่สงสาร
            มุทิตา จ และมุทิตา ธรรมชาติที่พลอยยินดีต่อสมบัติของผู้อื่น.
            อปฺปมฃฺฃา นาม ชื่อว่า อัปปมัญญาเจตสิก อิติ เพราะเหตุนั้น  เจตสิกา เจตสิกทั้งหลาย ปฃฺจวีสติ ๒๕ สทฺธึ  พร้อม ปฃฺฃินทริเยน ด้วยปัญญินทรีย์ ธรรมชาติที่หยั่งรู้ไตรลักษณ์มีอนิจจลักษณะเป็นต้น และเป็นใหญ่ในการหยั่งรู้สภาวะตามความเป็นจริง ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต เวทิตพฺพา พึงทราบ อิติ ว่า โสภณา โสภณเจตสิก เจตสิกที่ดีงามและประกอบเข้าในโสภณจิต สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง.


            เอตฺตาวตา
                        เตรสฺสมานา จ                   จุทฺทสากุสลา ตถา
                        โสภณา ปฺจวีสาติ                  ทฺวิปฺาส ปวุจฺจเร ฯ
            เอตฺตาวตา ด้วยคำประมาณเท่านี้

            เจตสิกา เจตสิก ทฺวิปฃฺฃาส ๕๒ ปวุจฺจเร อันข้าพเจ้ากล่าวแล้ว  อิติ คือ  เตรสฺสมานา จ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ จุทฺทสากุสลา จ อกุสลเจตสิก ๑๔ ตถา และ โสภณา โสภณเจตสิก ปฺจวีส ๒๕.

(จบ โสภณเจตสิก)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น