อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ
ปกรณารมฺภคาถา
อภิธัมมัตถสังคหบาลี
คาถาเริ่มต้นปกรณ์
สมฺมาสมฺพุทฺธมตุลํ สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ
อภิวาทิย
ภาสิสฺสํ อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ฯ
อหํ
ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) อภิวาทิย ถวายอภิวาทแล้ว สมฺมาสมฺพุทฺธํ
ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อตุลํ ทรงไม่มีผู้เปรียบเทียบด้วยพระปัญญา สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ
พร้อมทั้งพระสัทธรรมและหมู่พระอริยสงฆ์สูงส่ง ภาสิสฺสํ จักกล่าว อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ
ซึ่งปกรณ์อภิธัมมัตถสังคหะ.
จตุปรมตฺถธมฺโม
ตตฺถ
วุตฺตาภิธมฺมตฺถา,
จตุธา
ปรมตฺถโตฯ
จิตฺตํ
เจตสิกํ รูปํ,
นิพฺพานมิติ
สพฺพถาฯ
อภิธมฺมตฺถา
อรรถในพระอภิธรรม ภควตา อันพระผู้มีพระภาค วุตฺตา ตรัสแล้ว สพฺพถา
โดยประการทั้งปวง ปรมตฺถโต โดยปรมัตถ์ ตตฺถ ในอภิธรรมปิฎกนั้น จตุธา
=
จตูหากาเรหิ ฐิตา ดำรงอยู่โดย ๔ ส่วน อิติ =
เอวํ อย่างนี้ คือ จิตฺตํ จิต, เจตสิกํ
เจตสิก รูปํ รูป นิพฺพานํ พระนิพพาน.
๑.
จิตฺตปริจฺเฉโท
ภูมิเภทจิตฺตํ
ปริจเฉทที่ ๑
จิตปริจเฉท
จำแนกจิตโดยประเภทแห่งภูมิ
ตตฺถ
จตุปรมตฺถธมฺเมสุ ในปรมัตถธรรม ๔ นั้น จิตฺตํ จิต โหติ ย่อมมี จตุพฺพิธํ
= จตุปฺปการํ มี ๔ พวกโดยความเหมือนกัน อิติ
คือ กามาวจรํ กามาวจรจิต จิตที่ชื่อว่า กามาวจร รูปาวจรํ
จิตที่ชื่อว่า รูปาวจร, อรูปาวจรํ จิตที่ชื่อว่า อรูปาวจร, โลกุตฺตรํ จ
และจิตที่ชื่อว่า โลกุตระ.
อกุสลจิตฺตํ
อกุศลจิต
(โลภมูลจิต ๘ ดวง)
๔. ตตฺถ กตมํ กามาวจรํ?
๔. ตตฺถ
ในจิตมี ๔ อย่างเหล่านั้น กามาวจรํ จิตที่ชื่อ กามาวจร กตมํ
เหล่าใด?
โสมนสฺสสหคตํ
ทิฏฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกเมกํ, สสงฺขาริกเมกํ, โสมนสฺสสหคตํ ทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกเมกํ, สสงฺขาริกเมกํ, อุเปกฺขาสหคตํ ทิฏฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกเมกํ,
สสงฺขาริกเมกํ, อุเปกฺขาสหคตํ
ทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกเมกํ, สสงฺขาริกเมกนฺติ อิมานิ
อฏฺฐปิ โลภสหคตจิตฺตานิ นามฯ
อิมานิ
จิตฺตานิ
จิตทั้งหลายเหล่านี้ อฏฺฐปิ แม้ ๘ ดวง โลภสหคตจิตฺตานิ นาม ชื่อว่า
โลภสหคตจิต จิตที่เกิดร่วมกับโลภะ อิติ คือ
จิตฺตํ จิต โสมนสฺสสหคตํ
ที่เกิดร่วมกับโสมนัสเวทนา ทิฏฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ ประกอบด้วยทิฏฐิ อสงฺขาริกํ
ไม่มีสังขาร โหติ ย่อมมี เอกํ หนึ่งดวง, จิตฺตํ จิต สสงฺขาริกํ
ที่มีสังขาร โหติ ย่อมมี เอกํ หนึ่งดวง.
จิตฺตํ จิต โสมนสฺสสหคตํ
ที่เกิดร่วมกันโสมนัสเวทนา ทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ ไม่ประกอบด้วยทิฏฐิ อสงฺขาริกํ ไม่มีสังขาร โหติ
ย่อมมี เอกํ หนึ่งดวง, จิตฺตํ
จิต สสงฺขาริกํ ที่ไม่มีสังขาร โหติ ย่อมมี เอกํ หนึ่งดวง.
จิตฺตํ จิต อุเปกฺขาสหคตํ
ที่เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา ทิฏฺฐิคตสมฺปยุตฺตํ ประกอบด้วยทิฏฐิ อสงฺขาริกํ
ไม่มีสังขาร โหติ ย่อมมี เอกํ หนึ่งดวง, จิตฺตํ จิต สสงฺขาริกํ
ที่ไม่มีสังขารโหติ ย่อมมี เอกํ
หนึ่งดวง.
อกุศลจิต
(โทสมูลจิต ๒ ดวง)
๕. โทมนสฺสสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ อสงฺขาริกเมกํ, สสงฺขาริกเมกนฺติ อิมานิ เทฺวปิ
ปฏิฆสมฺปยุตฺต - จิตฺตานิ นามฯ
จิตฺตานิ จิต เทฺว
อปิ แม้สองดวง ปฏิฆจิตฺตานิ นาม ที่ชื่อว่า ปฏิฆจิต
จิตที่ประกอบกับปฏิฆะ อิมานิ เหล่านี้ อิติ คือ
จิตฺตํ จิต โทมนสฺสสหคตํ
ที่เกิดพร้อมกับโทมนัสเวทนา ปฏิฆสมฺมปยุตฺตํ ประกอบร่วมกับปฏิฆะ อสงฺขาริกํ
ไม่มีการชักชวน เอกํ หนึ่งดวง ฯ
จิตฺตํ จิต โทมนสฺสสหคตํ
ที่เกิดพร้อมกับโทมนัสเวทนา ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ ประกอบร่วมกับปฏิฆะ สสงฺขาริกํ
มีการชักชวน เอกํ หนึ่งดวง ฯ
อกุศลจิต (โมหมูลจิต
๒ ดวง)
๖. อุเปกฺขาสหคตํ วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตเมกํ, อุเปกฺขาสหคตํ
อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตเมกนฺติ อิมานิ ทฺเวปิ โมมูห-จิตฺตานิ นามฯ
จิตฺตานิ จิต เทฺว
อปิ แม้สองดวง โมมูหจิตฺตานิ นาม ที่ชื่อว่า โมมูหจิต
จิตที่ลุ่มหลงเพราะโมหะ อิมานิ เหล่านี้ อิติ คือ
จิตฺตํ จิต อุเปกฺขาสหคตํ
ที่เกิดพร้อมกับอุเบกขาเวทนา วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ ประกอบร่วมกับวิจิกิจฉา เอกํ
หนึ่งดวง ฯ
จิตฺตํ จิต อุเปกฺขาสหคตํ
ที่เกิดพร้อมกับอุเบกขาเวทนา อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตํ ประกอบร่วมกับอุทธัจจะ เอกํ
หนึ่งดวง ฯ
๗. อิจฺเจวํ สพฺพถาปิ ทฺวาทสากุสลจิตฺตานิ สมตฺตานิฯ
อกุสลจิตฺตานิ อกุศลจิต ทฺวาทส ๑๒ สมตฺตานิ จบลงแล้ว สพฺพถาปิ ทุกประการ อิจฺเจวํ
ด้วยประการฉะนี้แล ฯ
๘. อฏฺฐธา โลภมูลานิ, โทสมูลานิ
จ ทฺวิธา
โมหมูลานิ จ
ทฺเวติ,
ทฺวาทสากุสลา สิยุํฯ
อกุสลา
อกุศลจิต สิยุํ มี ทฺวาทส
๑๒ อิติ คือ โลภมูลจิต โลภมูลานิ อฏฺฐธา๘ จ แม้โทสมูลานิ
โทสมูลจิต สิยุํ ทฺวิธา
มี ๒ โมหมูลานิ จ และ โมหมูลจิต สิยุํ
เทฺว มี ๒ฯ
สาธุ สาธุ สาธุ
ตอบลบ