อกุสลเจตสิกวณฺณนา
การอธิบายอกุศลเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
๑๗๗. เอว ตาว สพฺพจิตฺตสาธารณวเสน จ ปกิณฺณกวเสน จ โสภเณตรสภาเว เตรส
ธมฺเม อุทฺทิสิตฺวา อิทานิ
เหฏฺา จิตฺตวิภาเค นิทฺทิฏฺานุกฺกเมน อกุสลธมฺมปริยาปนฺเน ปม ตโต
โสภณธมฺมปริยาปนฺเน จ ทสฺเสตุ
โมโหติอาทิ วุตฺต.
โมโหติอาทิ
วจนํ
คำเป็นต้นว่า โมโห ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ อุทฺทิสิตฺวา ครั้นยกแสดง โสภเณตรสภาเว
ซึ่งธรรมอันมีสภาวะเป็นโสภณะก็ได้และที่มีสภาวะเป็นอื่นจากโสภณะนั้นก็ได้ เตรส
๑๓ ประการ สพฺพจิตฺตสาธารณวเสน จ โดยเกี่ยวกับเป็นสัพพจิตตสาธารณเจตสิก ปกิณฺณกวเสน
จ และโดยเกี่ยวกับเป็นปกิณณกเจตสิก เอวํ อย่างนี้ ตาว ก่อนแล้ว วุตฺตํ
จึงกล่าวไว้ อิทานิ ณ บัดนี้ ทสฺเสตุ เพื่อจะแสดง อกุสลธมฺมปริยาปนฺเน
จ ซึ่งธรรมอันนับเนื่องอยู่ในอกุศลธรรม ปฅมํ ก่อน โสภณธมฺมปริยาปนฺเน
จ และธรรมที่นับเนื่องอยู่ในโสภณธรรม ตโต
ต่อจากธรรมอันนับเนื่องอยู่ในอกุศลธรรมนั้น นิทฺทิฏฺฅานุกฺกเมน
โดยลำดับแห่งจิตที่ท่านได้แสดงไขไว้ จิตฺตวิภาเค ในปริจเฉทที่เป็นการจำแนกจิต
เหฏฺฅา ที่ผ่านมา.
๑๗๘. อเหตุเก ปน
อาเวณิกธมฺมา นตฺถีติ น เต วิสุ
วุตฺตา.
ปน แต่ว่า อาเวณิกธมฺมา
เจตสิกธรรมที่เป็นพิเศษ อเหตุเก ในอเหตุกจิต นตฺถิ ย่อมไม่มี
อิติ เพราะเหตุนั้น เต อเหตุกเจตสิกา อเหตุกเจตสิก เหล่านั้น อาจริเยน อันอาจารย์น วุตฺตา มิได้กล่าวไว้
วิสุ เป็นอีกกลุ่มหนึ่ง.
๑๗๙. อารมฺมเณ มุยฺหตีติ โมโห อฺาณ.
โส อารมฺมณสภาวจฺฉาทนลกฺขโณ.อารมฺมณคฺคหณวสปฺปวตฺโตปิ เหส
ตสฺส ยถาสภาวปฏิจฺฉาทนากาเรเนว
ปวตฺตติ.
โย สภาโว สภาวะใด มุยฺหติ
ย่อมลุ่มหลง อารมฺมเณ ในอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น โส สภาโว
สภาวะนั้น โมโห ชื่อว่า โมหะ อฃฺฃาณํ ได้แก่ ความไม่รู้. โส โมโห
โมหะนั้น อารมฺมณสภาวจฺฉาทนลกฺขโณ
มีการปกปิดไว้ซึ่งสภาวะแห่งอารมณ์เป็นลักษณะ. หิ จริงอยู่ เอโส โมโห
โมหะนั้น อารมฺมณคฺคหณวสปฺปวตฺโตปิ แม้ว่าเป็นไปด้วยอำนาจแห่งการถือเอาอารมณ์ไว้
ปวตฺตติ ก็ย่อมเป็นไป ยถาสภาวปฏิจฺฉาทนากาเรน
โดยอาการที่ปกปิกสภาวะตามความเป็นจริง ตสฺส อารมฺมณสฺส แห่งอารมณ์นั้น
เอว นั่นเทียว.
๑๘๐.น หิริยติ
น ลชฺชิยตีติ อหิริโก, ปุคฺคโล
ธมฺมสมูโห วา. อหิริกสฺส
ภาโว อหิริกฺก, ตเทว อหิริก.
โย ปุคฺคโล บุคคลใด
น หิริยติ = น ลชฺชิยติ
ย่อมไม่ละอาย อิติ เพราะเหตุนั้น โส ปุคฺคโล บุคคลนั้น อหิริโก
ชื่อว่า อหิริกะ, ปุคฺคโล วา ได้แก่ บุคคล ธมฺมสมูโห วา หรือ ได้แก่
กลุ่มแห่งธรรม. ภาโว ความเป็น อหิริกสฺส แห่งบุคคลผู้ไม่ละอายนั้น อหิริกฺกํ ชื่อว่า อหิริกกะ,
ตํ อหิริกฺกํ เอว อหริกกะ นั้นนั่นแหละ อหิริกํ เป็นอหริกะ.
๑๘๑. น โอตฺตปฺปตีติ
อโนตฺตปฺปํ. ตตฺถ คูถโต
คามสูกโร วิย กายทุจฺจริตาทิโต อชิคุจฺฉนลกฺขณ อหิริก. อคฺคิโต สลโภ
วิย ตโต อนุตฺตาสลกฺขณ อโนตฺตปฺปํ.
ยํ
ธมฺมชาตํ
ธรรมชาติใด น โอตฺตปฺปติ ย่อมไม่เกรงกลัว อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ
ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น อโนตฺตปฺปํ
ชื่อว่า อโนตัปปะ. ตตฺถ บรรดาอหิริกะและอโนตตัปปะนั้น อหิริกํ
อหิริกะ อชิคุจฺฉลกฺขณํ มีความรังเกียจ -กายทุจฺจริตาทิโต
แต่ทุจริตมีกายทุจริตเป็นต้น - เป็นลักษณะ วิย เหมือนกับ คามสูกโร สุกรบ้าน
[อชิคุจฺฉโน ซึ่งไม่รังเกียจ] คูถโต
แต่คูถ ฉะนั้น. อโนตฺตปฺปํ อโนตัปปะ อนุตฺตาสลกฺขณํ
มีการไม่สะดุ้งกลัว - ตโต แต่ทุจริตมีกายทุจริตเป็นต้นนั้น - เป็นลักษณะ
วิย เหมือนกับ สลโภ ตั๊กแตน [อนุตฺตาโส
ซึ่งไม่กลัว] อคฺคิโต แต่ไฟ ฉะนั้น.
๑๘๒. เตนาหุ โปราณา
ชิคุจฺฉติ นาหิริโก ปาปา
คูถาว สูกโร
น ภายติ อโนตฺตาปี สลโภ
วิย ปาวกาติ ฯ
เตน
เพราะเหตุนั้น โปราณา อาจารย์แต่ปางก่อน อาหุ ได้กล่าวไว้ อิติ ว่า
อหิริโก คนไม่ละอาย น ชิคุจฺฉติ
ย่อมไม่รังเกียจ ปาปา แต่บาป อิว เหมือน สูกโร สุกร อชิคุจฺฉนฺโต
ไม่รังเกียจ คูถา แต่คูถ, อโนตฺตาปี บุคคลผู้ไม่เกรงกลัว น ภายติ
ย่อมไม่เกรงกลัว ปาปา แต่บาป วิย เหมือน สลโภ ตั๊กแตน อภายนฺโต
ไม่เกรงกลัว ปาวกา แต่ไฟ ดังนี้.
๑๘๓. อุทฺธตสฺส ภาโว
อุทฺธจฺจ ฯ ต
จิตฺตสฺส อวูปสมลกฺขณ
ปาสาณาภิฆาตสมุทฺธตภสฺม วิย ฯ
ภาโว
ความเป็น อุทฺธตสฺส แห่งบุคคลผู้ฟุ้งซ่าน อุทฺธจฺจํ ชื่อว่า
อุทธัจจะ. ตํ อุทธัจจะนั้น อวูปสมลกฺขณํ
มีการไม่สงบ - จิตฺตสฺส แห่งจิต - เป็นลักษณะ วิย เหมือน ปาสาณาภิฆาตสมุทฺธตภสฺมํ ขี้เถ้าที่ฟุ้งขึ้นเพราะถูกก้อนหินกระทบ.
๑๘๔.ลุพฺภตีติ โลโภ
ฯ โส อารมฺมเณ อภิสงฺคลกฺขโณ มกฺกฏาเลโป
วิย ฯ จิตฺตสฺส
อาลมฺพิตุกามตามตฺต ฉนฺโท โลโภ ตตฺถ
อภิคิชฺฌนนฺติ อยเมเตส วิเสโส
ฯ
โย สภาโว
สภาวะใด ลุพฺภติ ย่อมอยาก อิติ เพราะเหตุนั้น โส สภาโว
สภาวะนั้น โลโภ ชื่อว่า โลภะ. โส โลภะ นั้น อภิสงฺคลกฺขโณ
มีการติดข้อง อารมฺมเณ ในอารมณ์ วิย เหมือนอย่าง มกฺกฏาเลโป ลิงติดอยู่ที่ตัง. วิเสโส
ความต่างกัน เอเตสํ [ฉนฺทโลภานํ แห่งฉันทะและโลภะ] นั้น อยํ
ดังนี้ อิติ คือ ฉนฺโท ฉันทะ อาลมฺพิตุกาม-ตามตฺตํ
เป็นเพียงความปรารถนาเพื่อยึดเหนี่ยวอารมณ์ จิตฺตสฺส แห่งจิต, โลโภ
โลภะ อภิคิชฺฌนํ เป็นความต้องการ ตตฺถ ในอารมณ์นั้น.
๑๘๕. อิทเมว สจฺจ
โมฆมฺนฺติ มิจฺฉาภินิเวสลกฺขณา
ทิฏฺิ ฯ าณฺหิ อารมฺมณ
ยถาสภาวโต ชานาติ ทิฏฺิ
ยถาสภาว วิชหิตฺวา อยาถาวโต คณฺหาตีติ
อยเมเตส วิเสโส
ฯ
ทิฏฺฐิ
ทิฏฐิ มิจฺฉาภินิเวสลกฺขณา มีการยึดมั่นผิด อิติ ว่า อิทํ ทสฺสนํ
เอว ความเห็นนี้เท่านั้น สจฺจํ
จริง, อญฺญํ ทสฺสนํ ความเห็นอื่น โมฆํ สูญเปล่า ดังนี้
เป็นลักษณะ. หิ จริงอยู่ วิเสโส ความต่างกัน เอเตสํ [ฃาณทิฏฺฅีนํ แห่งญาณและทิฏฐิ]
เหล่านี้ อยํ ดังนี้ อิติ
คือ ฃาณํ ญาณ ชานาติ
ย่อมรู้ อารมฺมณํ ซึ่งอารมณ์ ยถา-สภาวโต โดยสภาวะตามความเป็นจริง, ทิฏฺฅิ
ทิฏฐิ วิชหิตฺวา ละทิ้ง ยถาสภาวํ ซึ่งสภาวะตามที่เป็นจริง คณฺหาติ
แล้วย่อมถือเอา อยาถาวโต โดยความไม่เป็นจริง.
๑๘๖. เสยฺโยหมสฺมีติอาทินา
มฺตีติ มาโน ฯ
โส อุนฺนติลกฺขโณ ฯ
ตถาเหส เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺาโน
วุตฺโต ฯ
โย สภาโว
สภาวะใด มฃฺฃติ ย่อมสำคัญตัว เสยฺโยหมสฺมีติอาทินา โดยนัยว่า
เราดีกว่า ดังนี้เป็นต้น. โส มาโน มานะนั้น อุนฺนติลกฺขโณ มีการยกตัวเป็นลักษณะ.
ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอโส มาโน
มานะนั้น วุตฺโต พระอรรถกถาจารย์เป็นต้นกล่าวว่า เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺฅาโน
มีความต้องการเป็นดุจธงเป็นปัจจุปัฏฐาน.
๑๘๗. ทุสฺสตีติ โทโส
ฯ โส จณฺฑิกฺกลกฺขโณ ปหตาสีวิโส
วิย ฯ
โย สภาโว
สภาวะใด ทุสฺสติ ย่อมประทุษร้าย อิติ เพราะเหตุนั้น โส สภาโว
สภาวะนั้น โทโส ชื่อว่า โทสะ. โส โทโส โทสะ นั้น จณฺฑิกฺกลกฺขโณ
มีความดุร้ายเป็นลักษณะ วิย เหมือน ปหตาสีวิโส อสรพิษ ที่ถูกตี
ฉะนั้น.
๑๘๘. อิสฺสตีติ อิสฺสา
ฯ สา
ปรสมฺปตฺติอุสฺสุยนลกฺขณา ฯ
ยา ธมฺมชาติ
ธรรมชาติใด อิสฺสติ ย่อมริษยา อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ
ธรรมชาตินั้น อิสฺสา ชื่อว่า อิสสา. สา อิสฺสา อิสสา นั้น ปรสมฺปตฺติอุสฺสุยนลกฺขณา
มีความอดทนไม่ได้ ในสมบัติของผู้อื่นเป็นลักษณะ.
๑๘๙. มจฺเฉรสฺส
ภาโว มจฺฉริย ฯ มา อิท อจฺฉริย อฺเส
โหตุ มยฺหเมว โหตูติ
ปวตฺต วา มจฺฉริย
ฯ ต อตฺตสมฺปตฺตินิคฺคุยฺหนลกฺขณ ฯ
ภาโว
ความเป็น มจฺเฉรสฺส แห่งบุคคลผู้ตระหนี่ มจฺฉริยํ ชื่อว่า มัจฉริยะ.
วา อีกนัยหนึ่ง ธมฺมชาตํ ธรรมชาติ ปวตฺตํ ซึ่งเป็นไป อากาเรน
โดยอาการ อิติ ว่า อิทํ อจฺฉริยํ สิ่งที่น่าอัศจรรย์ นี้ มา โหตุ อย่าได้มี อฃฺเฃสํ
แก่ชนอื่น โหตุ จงมี มยฺหเมว แก่เราเท่านั้น ดังนี้ มจฺฉริยํ
ชื่อว่า มัจฉริยะ. ตํ มจฺฉริยํ มัจฉริยะนั้น อตฺตสมฺปตฺติ- นิคฺคุยฺหนลกฺขณํ มีการปกปิดสมบัติของตนเป็นลักษณะ.
๑๙๐. กุจฺฉิต กตนฺติ
กุกฺกต กตากต
ทุจฺจริตสุจริต ฯ อกตมฺปิ
หิ กุกฺกตนฺติ โวหรนฺติ
ฯ ย มยา อกต
ต กุกฺกตนฺติ ฯ
อิธ ปน กตากต
อารพฺภ อุปฺปนฺโน
วิปฺปฏิสารจิตฺตุปฺปาโท กุกฺกต ฯ
ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจ
ฯ ต กตากตทุจฺจริตสุจริตา- นุโสจลกฺขณ ฯ
[กมฺมํ กรรม ปุคฺคเลน
ที่บุคคล] กตํ ทำไว้ กุจฺฉิตํ ไม่ดี อิติ
เพราะเหตุนั้น กุกฺกตํ ชื่อว่า กุกกตะ, ทุจฺจริตสุจริตํ ได้แก่
ทุจริตและสุจริต กตากตํ ที่ได้ทำไว้และยังไม่ได้ทำ. หิ จริงอยู่ ชนา
ชนทั้งหลาย โวหรนฺติ เรียก อกตมฺปิ แม้สุจริตที่บุคคลยังไม่ได้ทำ กุกฺกตํ
อิติ ว่า กุกกตะ. [กถํ อย่างไร ?] คือ โวหรนฺติ
ย่อมกล่าวกัน อิติ ว่า ยํ กมฺมํ กรรมใด มยา อกตํ
ที่เรายังไม่ได้ทำ ตํ กมฺมํ กุกฺกตํ กรรมนั้น ชื่อว่า กุกกตะ. ปน
แต่ อิธ ในที่นี้ วิปฺปฏิสารจิตฺตุปฺปาโท จิตตุปบาทคือความเดือดร้อนใจ
อุปฺปนฺโน ที่เกิดขึ้น อารพฺภ ปรารภ กตากตํ
ทุจริตและสุจริตที่ทำแล้วและยังไม่ได้ทำ กุกฺกตํ ชื่อว่า กุกกตะ. ภาโว
ความเป็น ตสฺส กุกฺกุตสฺส แห่งกุกกตะนั้น กุกฺกุจฺจํ ชื่อว่า
กุกกุจจะ. ตํ กุกฺกุจฺจํ กุกกุจจะนั้น กตากตทุจฺจริตสุจริตานุโสจนลกฺขณํ
มีการเศร้าโศกถึงทุจริตที่ได้ทำไว้และสุจริตที่มิได้ทำไว้ภายหลังเป็นลักษณะ.
๑๙๑. ถินน ถีน ฯ อนุสฺสาหนาวสีทนวเสน สหตภาโว
ถีน ฯ
ถินนํ ความท้อถอย
ถีนํ ชื่อว่า ถีนะ. คือ สํหตภาโว
ความที่จิตหดหู่ อนุสฺสาหนาวสีทนวเสน
ด้วยอำนาจแห่งความท้อแท้ไม่มีอุตสาหะ ถีนํ ชื่อว่า ถีนะ.
๑๙๒. มิทฺธน มิทฺธ
วิคตสามตฺถิยตาฯ ตตฺถ ถีน
จิตฺตสฺส อกมฺมฺตาลกฺขณ มิทฺธ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺสาติ อยเมเตส วิเสโส
ฯ
มิทฺธนํ
ความโงกง่วง มิทฺธํ ชื่อว่า มิทธะ, วิคตสามตฺถิยตา ได้แก่ ความเป็นแห่งจิตที่ปราศจากความสามารถ.
ตตฺถ
ในบรรดาถีนะและมิทธะนั้น วิเสโส ความต่างกัน เอเตสํ ถีนมิทฺธานํ
แห่งถีนะและมิทธะ เหล่านี้ อยํ ดังนี้ อิติ คือ ถีนํ ถีนะ จิตฺตสฺส
อกมฺมฃฺฃตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงานแห่งจิตเป็นลักษณะ, มิทฺธํ
มิทธะ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส อกมฺมฃฺฃตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงานแห่งนามขันธ์
๓ มีเวทนาเป็นต้นเป็นลักษณะ.
๑๙๓. ตถาหิ ปาลิย
ตตฺถ กตม ถีน ยา
จิตฺตสฺส อกลฺยตาอกมฺมฺตา ตตฺถ กตม มิทฺธ
ยา กายสฺส
อกลฺยตาอกมฺมฺตาติอาทินา
อิเมส นิทฺเทโส ปวตฺโต
ฯ
ตถาหิ
จริงอย่างนั้น ปาลิยํ ในพระบาฬีธัมมสังคณี นิทฺเทโส นิทเทส อิเมสํ
แห่งถีนะและมิทธะนี้ ปวตฺโต เป็นไปแล้ว อิติอาทินา นเยน โดยนัยว่า ตตฺถ
ในบรรดาถีนะและมิทธะเป็นต้นเหล่านั้น กตมํ ถีนํ ถีนะ เป็นไฉน ? อกลฺยตา
ความไม่สามารถ อกมฺมฃฺฃตา ความไม่ควรแก่การงาน จิตฺตสฺส แห่งจิต ยา
อันใด, อกลฺยตา อกมฺมฃฺฃตา ความไม่สามารถ ความไม่ควรแก่การงาน กายสฺส
แห่งกาย ยา อันใด ดังนี้เป็นต้น.
๑๙๔. นนุ จ
กายสฺสาติ วจนโต รูปกายสฺสาปิ
อกมฺมฺตา มิทฺธนฺติ ตสฺส รูปภาโวปิ
อาปชฺชตีติ ฯ นาปชฺชติ
ตตฺถ ตตฺถ อาจริเยหิ อานีตการณวเสเนวสฺส ปฏิกฺขิตฺตตฺตา ฯ
โจทนา ท้วง อิติ
ว่า อกมฺมฃฺฃตา ความไม่ควรแก่การงาน รูปกายสฺสาปิ แม้แห่งรูปกาย มิทฺธํ
ชื่อว่า มิทธะ วจนโต เพราะพระดำรัส อิติ ว่า กายสฺส แห่งกาย นนุ
จ มิใช่หรือ ? อิติ เพราะเหตุนั้น รูปภาโวปิ แม้ความที่ - ตสฺส
มิทฺธสฺส แห่งมิทธะนั้น - เป็นรูป อาปชฺชติ ย่อมควร.
ปริหาโร ตอบ
อิติ ว่า น อาปชฺชติ ย่อมไม่ควร อาจริเยหิ ปฏิกฺขิตฺตตฺตา
เพราะความที่ - อสฺส มิทฺธสฺส รูปภาวสฺส แห่งมิทธะนั้น เป็นรูป - อันอาจารย์ทั้งหลายปฏิเสธแล้ว อานีตการณวเสน
โดยเกี่ยวกับเป็นพระบาฬีอันเป็นเหตุคัดค้านมิทธรูปที่ท่านนำมาอ้างไว้แล้ว เอว
นั่นเทียว ตตฺถ ตตฺถ ในปกรณ์นั้นๆ มีอัฏฐสาลินีเป็นต้น.
๑๙๕. ตถาหิ มิทฺธวาทิมตปฏิกฺเขปตฺถ เตส วาทนิกฺเขปปุพฺพก อฏฺกถาทีสุ
พหุธา วิตฺถาเรนฺติ อาจริยา ฯ
ตถาหิ
จริงอย่างนั้น มิทฺธวาทิมตปฏิกฺเขปตฺถํ เพื่อจะปฏิเสธมติของมิทธวาที อาจริยา
อาจารย์ทั้งหลาย วิตฺถาเรนฺติ
พรรณนา พหุธา ไว้เป็นอันมาก วาทนิกฺเขปปุพฺพกํ ซึ่งคำมีการตั้งวาทะ
- เตสํ มิทฺธวาทีนํ ของมิทธวาทีอาจารย์เหล่านั้น
- เป็นเบื้องต้น อฏฺฅกถาทีสุ ในอรรถกถาเป็นต้น.
๑๙๖. อยมฺปเนตฺถ
สงฺคโห
เกจิ
มิทฺธมฺปิ รูปนฺติ วทนฺติ ต น ยุชฺชติ
ปหาตพฺเพสุ วุตฺตตฺตา กามฉนฺทาทโย
วิย ฯ
ปหาตพฺเพสุ อกฺขาต- เมต
นีวรเณสุ หิ
รูปนฺตุ น ปหาตพฺพ- มกฺขาต
ทสฺสนาทินา ฯ
น ตุยฺห ภิกฺขเว รูป ชหเถตนฺติ
ปาโต
ปเหยฺยภาวเลโสปิ ยตฺถ
รูปสฺส ทิสฺสติ ฯ
ตตฺถ ตพฺพิสยจฺฉนฺท- ราคหานิ
ปกาสิตา
วุตฺตฺหิ ตตฺถ โย ฉนฺท- ราคกฺเขโปติ
อาทิก ฯ
รูปารูเปสุ มิทฺเธสุ อรูป
ตตฺถ เทสิต
อิติ เจ นตฺถิ ต ตตฺถ อวิเสเสน
ปาโต ฯ
สกฺกา หิ อนุมาตุ ย มิทฺธ
รูปนฺติ จินฺติต
ตมฺปิ นีวรณ มิทฺธ- ภาวโต
อิตร วิย ฯ
สมฺปโยคาภิธานา จ น
ต รูปนฺติ นิจฺฉโย
อรูปีนฺหิ
ขนฺธาน สมฺปโยโค
ปวุจฺจติ ฯ
ตถารุปฺเป สมุปฺปตฺติ- ปาโต
นตฺถิ รูปตา
นิทฺทา ขีณาสวานนฺตุ กายเคลฺโต
สิยาติ ฯ
ปน ก็ เอตฺถ
ในอธิการว่าด้วยมิทธะนี้ สงฺคโห ข้อสรุปคำพูดที่อาจารย์ทั้งหลายพรรณนาไว้ อยํ
อย่างนี้ อิติ คือ
เกจิ ปุคฺคลา มีบางคน
วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า มิทฺธมฺปิ แม้มิทธะ รูปํ
เป็นรูป [โหติ ย่อมเป็น]. เอตํ วจนํ คำพูดนั้น น ยุชฺชติ
ไม่ถูกต้อง, วุตฺตตฺตา เพราะความที่แห่ง
- มิทฺธสฺส มิทธะ - ภควตา พระผู้มีพระภาคตรัส ปหาตพฺเพสุ
อกุสลธมฺเมสุ ในอกุศลธรรมอันควรละ วิย เช่นเดียวกับ กามฉนฺทาทโย
กามฉันทะเป็นต้น.
หิ แท้ที่จริง เอตํ มิทฺธํ มิทธะนั้น ภควตา
อกฺขาตํ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ นีวรเณสุ
ในนิวรณ์ ปหาตพฺเพสุ ที่พึงละ, ตุ ส่วนว่า รูปํ รูป ภควตา
พระผู้มีพระภาค น อกฺขาตํ มิได้ตรัสไว้ว่า ทสฺสสนาทินา เป็นธรรมอันทัสสนะเป็นต้น
ปหาตพฺพํ จะพึงละ.
ปเหยฺยภาวเลโสปิ
แม้การกล่าวโดยอ้อมของความที่ - รูปสฺส รูป - เป็นธรรมที่ควรละ ทิสฺสติ
ปรากฏอยู่ ยตฺถ ในพระบาฬีใด ปาฅโต โดยพระดำรัส อิติ ว่า ภิกฺขเว
ภิกษุทั้งหลาย รูปํ รูป [สนฺตกํ เป็นของมีอยู่] ตุยฺหํ
แห่งเธอ น หามิได้, ตุมฺเห พวกเธอ ชหถ จงละ เอตํ รูปํ
ซึ่งรูปนั้นเถิด. ตตฺถ ปาฬิยํ ในพระบาฬีนั้น ตพฺพิสยจฺฉนฺทราคหานิ
การละฉันทราคะอันมีรูปนั้นเป็นอารมณ์ ภควตา อันพระผู้มีพระภาค ปกาสิตา
ทรงประกาศไว้. หิ ข้อนี้สมดัง อิติ-อาทิกํ วจนํ พระดำรัสว่า โย
ฉนฺทราคกฺเขโป การละฉันทราคะอันใด ดังนี้เป็นต้น วุตฺตํ
อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ตตฺถ ในพระบาฬีนั้น.
เจ หากว่า มิทฺธวาที
มิทธวาที วเทยฺย พึงกล่าว วจนํ ซึ่งคำ อิติ ว่า มิทฺเธสุ
ในบรรดามิทธะทั้งหลาย รูปารูเปสุ ที่เป็นรูปและนาม อรูปํ มิทธนาม ภควตา
เทสิตํ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไว้ ตตฺถ ในพระสูตรนั้น ดังนี้ ตํ วจนํ
คำนั้น นตฺถิ ไม่มีหรอก, มิทฺธสฺส ปาฅโต เพราะตรัสมิทธะไว้ ตตฺถ
ปาฬิยํ ในพระบาฬีนั้น อวิเสเสน
โดยไม่แยกกัน.
หิ อันที่จริง ยํ มิทฺธํ มิทธะอันใด มิทฺธวาทีหิ จินฺติตํ อันมิทธวาที
คิดแล้ว อิติ ว่า รูปํ เป็นรูป ตมฺปิ มิทฺธํ มิทธะแม้นั้น ปณฺฑิเตน
สกฺกา อันบัณฑิต สามารถ อนุมาตุ เพื่ออนุมาน อิติ ว่า นีวรณํ
เป็นนิวรณ์ มิทฺธภาวโต เพราะเป็นความโงกง่วง วิย เหมือนกับ อิตรํ
มิทฺธํ มิทธะนอกนี้.
จ อนึ่ง นิจฺฉโย วินิจฉัย อิติ ว่า ตํ
มิทฺธํ มิทธะนั้น น รูปํ มิใช่รูป จ นั่นเทียว สมฺปโยคาภิธานา เพราะได้ตรัสถึงสัมปโยคะ
[มิทฺธสฺส สำหรับมิทธะ]. หิ
อันที่จริง สมฺปโยโค สัมปโยคะ ปวุจฺจติ พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก ขนฺธานํ
สำหรับขันธ์ อรูปีนํ อันเป็นอรูป.
ตถา อนึ่ง รูปตา
ความที่ [มิทฺธสฺส มิทธะ] เป็นรูป นตฺถิ
ไม่มี สมุปฺปตฺติปาฅโต เพราะได้ตรัสความเกิดขึ้นแห่งมิทธะ อารุปฺเป
ในอรูปภูมิ. ตุ ส่วนว่า นิทฺทา การหลับ ขีณาสวานํ
แห่งพระขีณาสพ สิยา พึงมี กายเคลฃฺฃโต เพราะความเหน็ดเหนื่อยแห่งรูปกาย.
อกุสลเจตสิกวณฺณนา นิฏฺฐิตา
อกุสลเจตสิกวณฺณนา การอธิบายอกุศลเจตสิก
นิฏฺฅิตา จบแล้ว.
v
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น