วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

อเหตุกจิต (๒) อธิบายคำว่า จักขุวิญญาณ [จิตที่อาศัยจักขุปสาทเกิด}

อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต
       อุเปกฺขาสหคต   จกฺขุวิฃฺฃาณํ,  ตถา  โสตวิฺาณ   ฆานวิฺาณ  ชิวฺหาวิฺาณ  ทุกฺขสหคต  กายวิฺาณ  อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา   สนฺตีรณฺเจติ  อิมานิ  สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ  นาม.
          อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ
       จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขา-เวทนา [ ดวงหนึ่ง], โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [ ดวงหนึ่ง], ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [ ดวงหนึ่ง], ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********

อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา 
อเหตุกจิต (๒) อธิบายคำว่า จักขุวิญญาณ [จิตที่อาศัยจักขุปสาทเกิด}

            ๗๖. ตตฺถ  จกฺขติ  วิาณาธิฏฺิตหุตฺวา  สมวิสม  อาจิกฺขนฺต  วิย  โหตีติ   จกฺขุ. อถวา. จกฺขติ รูป  อสฺสาเทนฺต  วิย  โหตีติ  จกฺขุ.   จกฺขตีติ  หิ  อย  สทฺโท มธุ  จกฺขติ  พฺยฺชน  จกฺขตีติอาที
สุ  วิย  อสฺสาทนตฺโถ  โหติ  ฯ เตนาห ภควา "จกฺขุ โข มาคนฺทิย รูปารามรูปรตรูปสมฺมุทิต[1]นฺติอาทิ.
         ตตฺถ  จกฺขุวิาณนฺติอาทิวจเน ในคำว่า จกฺขุวิญฺาณํ เป็นต้นนั้น ปณฺฑิเตน  บัณฑิต  เวทิตพฺโพ  พึงทราบ  วินิจฺฉโย  วินิจฉัย    ดังต่อไปนี้
       ยํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาติใด จกฺขติ ย่อมบอก[2] คือ วิญฺาณาธิฏฺฐิตํ[3]  หุตฺวา[4] พอเป็นที่อาศัยของวิญญาณ [5] โหติ [6] ก็จะเป็น วิย[7]  ดุจดังว่า อาจิกฺขนฺตํ  บอก  สมวิสมํ ฐานํ พื้นที่เรียบหรือขรุขระได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น จกฺขุ ชื่อว่า จักขุ.[8]
          อถวา  ฯ  อีกอย่างหนึ่ง
          ยํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาติใด จกฺขติ ยินดี โหติ คือเป็น วิย เหมือนกับว่า  อสฺสาเทนฺตํ ยินดี รูปํ ซึ่งรูปารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น จกฺขุ ชื่อว่า จักขุฯ หิ เพราะ อยํ จกฺขติ อิติ สทฺโท ศัพท์ ว่า จกฺขติ นี้ โหติ มี อสฺสาทนตฺโถ อรรถว่า อสฺสาท ยินดี วิย เหมือนกับ จกฺขติ อิติ สทฺโท ศัพท์ว่า จกฺขติ สนฺโต ที่มี อสฺสาทนตฺโถ อรรถว่า อสฺสาท ปโยเคสุ ในข้อความ มธุ  จกฺขติ  พฺยฺชน  จกฺขติ อิติอาทีสุ มีคำเป็นต้นว่า มธุ  จกฺขติ  พฺยฺชน  จกฺขติ ดังนี้    (ชโน คน จกฺขติ ย่อมยินดี   มธุ   ซึ่งน้ำผึ้ง,   จกฺขติ  ย่อมยินดี   พฺยญฺชนํ ซึ่งกับข้าว)ฯ   เตน   ฉะนั้น    ภควา พระผู้มีพระภาค อาห จึงตรัส[9] "จกฺขุ  โข  มาคนฺทิย  รูปาราม รูปรต รูปสมฺมุทิตํ อิติอาทิ พระบาฬีเป็นต้นว่า จกฺขุ โข มาคนฺทิย รูปารามรูปรตรูปสมฺมุทิตํ ดังนี้ไว้ (มาคนฺฑิย มาคัณฑิยะ จกฺขุ โข จักษุนี้เอง รูปารามํ มีรูปเป็นสิ่งที่ยินดี รูปรตํ ชื่นชมในรูป รูปสมฺมุทิตํ ยินดีแล้วในรูป[10]).




[1] ม. ม. ๑๓/๒๗๒ ฯ 
[2] จกฺขติ ในอรรถแรกนี้ ออกมาจาก จกฺข วิยตฺติยํ วาจายํ  จกฺข ธาตุ ในอรรถว่า การออกเสียงที่มีปรากฏอรรถ ตามนัยของโยชนาฯ แต่ในธาตวัตถสังคหปาฐะ แสดงอรรถของธาตุนี้ไว้ว่า จกฺขทสฺสนวาจาสฺสาทวิภาเวสุ จกฺข ธาตุ เป็นไปในอรรถว่า เห็น, กล่าว, ความสบาย (ยินดี), ทำให้แจ้งฯ
[3] ต ปัจจัยในบทนี้ใช้ในอรรถอธิกรณสาธนะ มีวิ.ว่า อธิฏฺาติ  เอตสฺมินฺติ  อธิฏฺิต.  วิาณ  เอตสฺมึ  จกฺขุมฺหิ อธิฏฺาติ  นิสฺสยติ  อิติ  ตสฺมา  ต  จกฺขุ  อธิฏฺิต.   อธิปุพฺโพา  คตินิวุตฺติมฺหิ   ภาวกมฺเมสุ  ต  อิติ  โยควิภาเคน  อธิกรเณ โต.  วิาณสฺส  อธิฏฺิต  วิาณาธิฏฺิต.
[4] บทว่า หุตฺวา นี้ โยชนาให้แปลเป็นสมานกาลกิริยาว่า อธิฏฺานกิริยาอาจิกฺขนกิริยาทฺวย  สมกาลเมว  โหตีติ  าปนตฺถ  หุตฺวาติ ปกฺขิตฺต. ท่านเพิ่มบทว่า หุตฺวา เข้าไว้ เพื่อบอกให้ทราบว่า กิริยาทั้งสองกิริยาตั้งอยู่และกิริยาบอก เป็นกิริยามีในขณะเดียวกันฯ
            แต่มณิ. ให้แนวทางการแปลไว้อีกนัยหนึ่ง ดังนี้ วิญฺาณาธิฏฺฐิตสฺส ภาวโตติ อตฺโถ, สามฺยตฺเถ หิ ปจฺจตฺตวจนํ, เหตฺวตฺเถ จ ตฺวาปจฺจโยติ.ความหมายว่า เพราะความเป็นแห่งที่ตั้งของวิญญาณ, ก็คำนี้เป็นปฐมาวิภัตติใช้ในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ และ  ตฺวา ปัจจัย ใช้ลงในอรรถเหตุฯ  ดังนั้น จึงแปลบทนี้ได้ว่า เพราะเป็นที่ตั้งของวิญญาณ.
            ในที่นี้แปลเป็นสมานกาลกิริยาตามนัยของโยชนา 
[5] ประโยคนี้มีอนุสนธิวากยะ ดังนี้     ท่านอาจารย์ไขความด้วยคำว่า อาจิกฺขนฺตํ เพราะ จกฺขติ กล่าวอรรถหลายประการเช่นกล่าวคำปรากฏอรรถเป็นต้น.  และเพิ่มบทว่า วิญฺาณาธิฏฺฐิตํ ไว้ เพื่อให้ทราบว่า จักษุ เป็นที่อาศัยของวิญญาณเท่านั้น จึงสามารถบอกได้,   ที่ไม่ได้เป็นที่อาศัยของจักษุวิญญาณ ไม่สามารถบอกได้ ฯ (โยชนา.)และ เพราะถูกท้วงว่า รูปเป็นธรรมชาติอาศัย เพราะไม่รู้อารมณ์, เพราะเหตุไร จึงเป็นเหมือนกับว่าบอกอารมณ์ได้เล่า"? ดังนั้น ท่านอาจารย์จึงกล่าวว่า เพราะเป็นที่อาศัยของวิญญาณ. (มณิ)
[6] บทว่า อาจิกฺขนฺตํ วิย มองหาสิทธิกิริยาบท (กิริยาบทที่เป็นเหตุให้มี คือ กิริยาว่ามีว่าเป็น) ดังนั้น ท่านจึงเพิ่มบทว่า โหติ เข้ามา.
[7] วิย ศัพท์ ปฏิเสธความเป็นธรรมมีเจตนา (นามธรรม) เพราะจักขุเป็นธรรมไม่มีเจตนา.   
[8] โยชนาเรียงความให้อีกนัยหนึ่งว่า  ยธมฺมชาตวิาณาธิฏฺิตหุตฺวา =จกฺขุวิาณสฺส  อธิฏฺิต=  นิสฺสย  หุตฺวา สมวิสม  รูป  าน  วา  จกฺขติ  อาจิกฺขนฺต  วิย  = อภิพฺพยตฺตวทนฺต  วิย  โหติ  อิติ  ตสฺมา  ต  ธมฺมชาต  จกฺขุ.  ธรรมชาติใด พอเป็นที่ให้วิญญาณอาศัย คือ เป็นที่อาศัยของจักขุวิญญาณ แล้ว ก็จะบอก คือ เป็นเหมือนบอก หรือชี้ชัดซึ่งรูปหรือพื้นที่เรียบหรือขรุขระ.  หุตฺวา ศัพท์ในที่นี้เป็นสมานกาลกิริยาของ จกฺขติ และอาจิกฺขนฺตํ.
[9] ข้อความว่า มาคณฺฑิย ... อิติอาทิ ในโยชนาให้แยกออกเป็นอีกประโยคหนึ่ง ไม่ได้เป็นบทกรรมของกิริยาบทว่า อาห เนื่องจากมิได้ลง ทุติยาวิภัตติว่า ...อาทึ และให้แปลว่า กล่าวคำมีว่า...ดังนี้เป็นต้น เรียกชื่อทางสัมพันธ์ว่า ปฐมากิริยาวิเสสนะ (วากยสัมพันธ์และอธิบายเล่ม ๒)
            อีกนัยหนึ่ง ตามมติของโบราณาจารย์ ให้เพิ่มปาฐเสสะที่เป็นทุติยาวิภัตติว่า อิติอาทิวจนํ ซึ่งคำเป็นต้นว่า .....  ดังนั้น ประโยคนี้จึงแปลว่า  เตน  ฉะนั้น  ภควา พระผู้มีพระภาค อาห จึงตรัส  "จกฺขุ ....  รูปสมฺมุทิตํ อิติอาทิวจนํ  ซึ่งพระบาฬีเริ่มต้นว่า จกฺขุ โข มาคนฺทิย รูปารามรูปรตรูปสมฺมุทิตํ ดังนี้ไว้.
[10] อรรถกถามาคณฺฑิยสูตรให้วจนัตถะว่า รูเปน  จกฺขุ  อาโมทิต  สมฺโมทิตนฺติ  รูปสมฺมุทิตํ  จักษุ อันรูปให้ยินดีแล้ว. 

*****

ยังมีต่อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น