อภิธัมมัตถสังคหะ
อเหตุกจิต (๕)
อุเปกฺขาสหคต จกฺขุวิฃฺฃาณํ, ตถา โสตวิฺาณ ฆานวิฺาณ ชิวฺหาวิฺาณ ทุกฺขสหคต กายวิฺาณ อุเปกฺขาสหคต สมฺปฏิจฺฉนฺน, ตถา สนฺตีรณฺเจติ อิมานิ สตฺตปิ อกุสลวิปากจิตฺตานิ นาม.
อิมานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านี้ สตฺตปิ แม้ ๗ ดวง อิติ คือ จกฺขุวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยจักขุปสาท อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา [จ ดวงหนึ่ง], โสตวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยโสตปสาท [จ ดวงหนึ่ง], ฆานวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยฆานวิญญาณ [จ ดวงหนึ่ง], ชิวฺหาวิฃฺฃาณํ จิตที่อาศัยชิวหาปสาท [จ ดวงหนึ่ง] ตถา [อุเปกฺขาสหคตํ เกิดร่วมกับอุเบกขาเวทนา]เช่นเดียวกัน
**********
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
อเหตุกจิต (๕) อธิบายคำว่า จักขุวิญญาณ [จิตที่อาศัยจักขุปสาทเกิด] (ต่อ)
๗๙. อฏฺกถาย ปน
"อเนกตฺถตฺตา ธาตูน จกฺขติสทฺทสฺส
วิภาวนตฺถตาปิ สมฺภวตีติ จกฺขติ
รูป วิภาเวตีติ จกฺขู"ติ
วุตฺต ฯ
ปน
แต่ อฏฺฅกถายํ ในคัมภีร์อรรถกถา[1]
อฏฺฅกถาจริเยน พระอรรถกถาจารย์ มนสิกตฺวา
ใส่ใจว่า "วิภาวนตฺถาปิ แม้ความหมายว่า วิภาวน (แสดง) [3] จกฺขติสทฺทสฺส ของ จักขติศัพท์[2]
- สมฺภวติ ย่อมมี อเนกตฺถตฺตา
เพราะความที่ - ธาตูนํ
ธาตุทั้งหลาย - มีความหมายมากมาย" อิติ
ดังนี้ วุตฺตํ จึงกล่าวว่า ยํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาติใด จกฺขติ
= รูปํ ยังรูป วิภาเวติ ย่อมให้ปรากฏ อิติ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ
ธรรมชาตินั้น จกฺขุ เรียกว่า จักขุ. [4]
[1] คือ
คัมภีร์สัมโมหวิโนทนี. ซึ่งมีข้อความเต็มว่า จกฺขตีติ จกฺขุ, รูปํ อสฺสาเทติ วิภาเวติ
จาติ อตฺโถ.
[2] จกฺขติสทฺทสฺส
คำนี้หมายถึง จกฺข ธาตุ แต่การที่ท่านใช้คำว่า จกฺขติ พึงทราบว่า เป็นอนุกรณศัพท์
(การสร้างรูปจำลองของศัพท์) ของ จกฺขติ ที่กล่าวไปแล้ว. ในโยชนาว่า ลง ติ
ปัจจัยท้าย จกฺข ศัพท์ ด้วยสูตรว่า ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฺฌนฺติ เพื่อบอกว่า จกฺข ศัพท์นี้เป็นอนุกรณะ.
[3] วิภาวน = วิ + ภู
มี + เณ + ยุ แปลตามสัททัตถะว่า
ทำให้มีหรือให้แจ่มแจ้ง.
แต่มีความหมายโดยโวหารว่า แสดง
[4] พึงเห็นปุจฉานุสนธิของประโยคนี้ดังนี้ว่า
"พระสุมังคลาจารย์เล็งเห็นปัญหาว่า อรรถว่า อสฺสาท ของจกฺขุ ศัพท์
ก็พอจะได้ความอยู่ แต่ในอรรถกถาท่านคิดอย่างไร จึงกล่าวว่า วิภาเวติ ไว้"
(โยชนา) . หรือ "คำว่า จกฺขติ นี้มีอรรถว่าบอก โดยนัยของคัมภีร์ไวยากรณ์
และมีอรรถว่ายินดี ตามโวหารของชาวโลกและฝ่ายคัมภีร์ศาสนา,
แต่ตามนัยของอรรถกถามีอรรถว่าอย่างไร?" (มณิ.)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น