วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2560

อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา ปริจเฉทที่ ๒ จบ อัญญสมานาเจตสิก

ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา
ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา การอธิบายซึ่งปริจเฉทที่ ๒
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
        ๑๕๙. เอว  ตาว  จิตฺต  ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน ยถารห  วิภชิตฺวา อิทานิ เจตสิกวิภาคสฺส อนุปฺปตฺตตฺตา ปม ตาว จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน  เจตสิกลกฺขณ ฅเปตฺวา  ตทนนฺตร  อฺสมานอกุสลโสภณวเสน  ตีหิ  ราสีหิ เจตสิกธมฺเม  อุทฺทิสิตฺวา  เตส  โสฬสหากาเรหิ  สมฺปโยค เตตฺตึสวิเธน สงฺคหฺจ  ทสฺเสตุ  เอกุปฺปาทนิโรธา  จาติอาทิมารทฺธ.
          อิทานิ บัดนี้ อนุปฺปตฺตตฺตา ก็เพราะความที่ - เจตสิกวิภาคสฺส การจำแนกเจตสิก - ถึงแล้วโดยลำดับ[๑] เอกุปฺปาทนิโรธา จ อิติ อาทิ วจนํ คำเริ่มต้นว่า   เอกุปฺปาทนิโรธา จ ดังนี้  อาจริเยน อันอาจารย์   วิภชิตฺวา ครั้นจำแนก จิตฺตํ จิต ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน ตามความต่างกันแห่ง ภูมิ ชาติ สัมปโยค สังขาร ฌาน อารมณ์และมรรค ยถารหํ ตามสมควร[๒] เอวํ อย่างนี้ ตาว ก่อนแล้ว อารทฺธํ จึงเริ่มขึ้นไว้[๓]   ทสฺเสตุ เพื่อที่จะ - ฅเปตฺวา วาง เจตสิกลกฺขณํ ลักษณะของเจตสิก จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน เนื่องด้วยจะชี้ลักษณะคือการประกอบกัน ๔ ประการ ปฅมํ เป็นลำดับแรก อุทฺทิสิตฺวา แล้วแสดง เจตสิกธมฺเม เจตสิกธรรม ราสีหิ โดยเป็นกอง ตีหิ สาม อฺสมานอกุสลโสภณวเสน โดยเกี่ยวกับเป็นอัญญสมานเจตสิก อกุศลเจตสิก และโสภณเจตสิก ตทนนฺตรํ ไว้ในลำดับแห่งการวางลักษณะคือการประกอบกัน ๔ ประการนั้น - แล้วจึงแสดง สมฺปโยคํ ซึ่งสัมปโยคะ  โสฬสหากาเรหิ โดยอาการ ๑๖ ด้วย สงฺคหํ ซึ่งสังคหะ [๔]   ด้วย เตสํ แห่งเจตสิกเหล่านั้น เตตฺตึสวิเธน [สงฺคเหน โดยสังคหนัย] มีประการ ๓๓ ตาว โดยลำดับ[๕].

          ๑๖๐. จิตฺเตน สห  เอกโต  อุปฺปาโท  จ  นิโรโธ  จ  เยสนฺเต  เอกุปฺปาทนิโรธา. เอก  อาลมฺพนฺจ  วตฺถุ  จ  เยสนฺเต   เอกาลมฺพนวตฺถุกา.  เอว จตูหิ  ลกฺขเณหิ   เจโตยุตฺตา  จิตฺเตน  สมฺปยุตฺตา  ทฺวิปฺาส สลกฺขณธารณโต  ธมฺมา  นิยตโยคิโน  อนิยตโยคิโน  จ  เจตสิกาติ มตา. 
          อุปฺปาโท จ การเกิดขึ้น ด้วย นิโรโธ จ การดับไป ด้วย เอกโต =  สห พร้อมกับ [๖]จิตฺเตน ด้วยจิต เยสํ ของธรรมเหล่าใด เต ธรรมเหล่านั้น เอกุปฺปาทนิโรธา ชื่อว่า มีการเกิดขึ้นและการดับไปพร้อมกับจิต. อาลมฺพณํ จ อารมณ์ ด้วย วตฺถุ วัตถุ ด้วย เอกํ เดียวกัน เยสํ ของธรรมเหล่าใด เต ธรรมเหล่านั้น เอกาลมฺพนวตฺถุกา ชื่อว่า มีอารมณ์และวัตถุเดียวกันกับจิต. ธมฺมา ชื่อว่า ธรรม สลกฺขณธารณโต เพราะทรงไว้ซึ่งลักษณะของตน  ทฺวิปฃฺฃาส ๕๒ ประการ เจโตยุตฺตา = จิตฺเตน สมฺปยุตฺตา ที่ประกอบด้วยจิต จตูหิ ลกฺขเณหิ โดยลักษณะ ๔ เอวํ อย่างนี้ มตา อันบัณฑิตเรียก [๗]  อิติ ว่า เจตสิกา เจตสิก นิยตโยคิโน จ[๘]  ทั้งที่ประกอบประจำ อนิยตโยคิโน จ  และไม่ประกอบประจำ.
         
          ๑๖๑. ตตฺถ  ยทิ  เอกุปฺปาทมตฺเตเนว  เจโตยุตฺตาติ  อธิปฺเปตา ตทา  จิตฺเตน  สห  อุปฺปชฺชมานาน  รูปธมฺมานมฺปิ  เจโตยุตฺตตา อาปชฺเชยฺยาติ  เอกนิโรธคหณ.  เอวมฺปิ  จิตฺตานุปริวตฺติโน วิฺตฺติทฺวยสฺส  ปสงฺโค  น  สกฺกา  นิวาเรตุ  ตถา  เอกโต  อุปฺปาโท วา  นิโรโธ  วา  เอเตสนฺติ  เอกุปฺปาทนิโรธาติ  ปริกปฺเปนฺตสฺส ปุเรตรมุปฺปชฺชิตฺวา  จิตฺตสฺส  ภงฺคกฺขเณ  นิรุชฺฌมานานมฺปิ รูปธมฺมานนฺติ  เอกาลมฺพนคหณ.
          [๙]ตตฺถ ในบรรดาลักษณะทั้ง ๔, ยทิ ถ้าหากว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย อธิปฺเปตา อันอาจารย์ประสงค์แล้ว เจโตยุตฺตา อิติ ว่าเป็นธรรมชาติที่ประกอบกับจิต เอกุปฺปาทมตฺเตน เอว โดยเหตุสักว่าเกิดขึ้นพร้อมกันเท่านั้น ไซร้, ตทา ทีนั้น  เจโตยุตฺตตา ความเป็นธรรมชาติประกอบกับจิต รูปธมฺมานํปิ แม้แห่งรูปธรรม[๑๐]      อุปฺปชฺชมานานํ ซึ่งเกิดขึ้น สห พร้อม จิตฺเตน ด้วยจิต  อาปชฺเชยฺย พึงสำเร็จ อิติ เพราะเหตุนั้น เอกนิโรธคหณํ คำว่า เอกนิโรธ การดับไปพร้อมกัน [อาจริเยน   อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้ นิวาเรตุ เพื่ออันห้าม เจโตยุตฺตตํ ซึ่งความเป็นธรรมที่ประกอบกับจิต เตสํ รูปธมฺมานํ แห่งรูปธรรมเหล่านั้น สหุปฺปนฺนานํ ซึ่งเกิดขึ้นพร้อม จิตฺเตน กับจิต นานาวิโรธตฺตา เพราะมีความดับไปต่างขณะกัน].[๑๑]
          เอวํปิ [= ลกฺขณทฺวยยุตฺเต เมื่อการประกอบด้วยลักษณะสอง สนฺเต มีอยู่],  ปณฺฑิเตน บัณฑิต  น สกฺกา ไม่อาจ  นิวาเรตุ เพื่ออันห้าม ปสงฺโค   ความเกี่ยวข้อง   [เจโตยุตฺตตาย ซึ่งความเป็นธรรมอันประกอบกับจิต] วิฺตฺติทฺวยสฺส แห่งวิญญัติทั้งสองจิตฺตานุปริวตฺติโน ซึ่งมีความเป็นไปตามซึ่งจิต[๑๒] [เอกุปฺปาทเอกนิโรธภาวโต เพราะความที่  วิฺตฺติทฺวยสฺส แห่งวิญญัติทั้งสอง - มีความเกิดขึ้นพร้อมกันและมีความดับไปพร้อม จิตฺเตน กับจิต อิติ เพราะเหตุนั้น อาลมฺพนคฺคหณํ คำว่า มีอารมณ์เดียวกัน อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้   นิวาเรตุ เพื่ออันห้าม เจโตยุตฺตตํ ซึ่งความที่ - วิฃฺฃตฺติทฺวยสฺส แห่งวิญญัติทั้งสอง สหุปฺปาทนิโรธสฺสาปิ แม้มีความเกิดขึ้นและดับไปพร้อมกัน จิตฺเตน กับจิต - เป็นธรรมอันประกอบกับจิต     อนารมฺมณตฺตา เพราะความเป็นธรรมที่ไม่รู้อารมณ์],  ตถา เช่นกัน ปริกปฺเปนฺตสฺส เมื่อบุคคลคิด อิมํ วจนตฺถํ ซึ่งวจนัตถะนี้  อิติ ว่า [รูปธมฺมา รูปธรรม] เอกุปฺปาทนิโรธา ชื่อว่า มีความเกิดขึ้นและดับไป อิติ = อิมินา วจนตฺเถน ก็ด้วยวจนัตถะนี้ว่า อุปฺปาโท วา ความเกิดขึ้น [เอกโต พร้อมกัน ภวงฺคจิตฺเตน กับภวังคจิต สตฺตรสเมน ดวงที่ ๑๗ คณนาวเสน โดยเกี่ยวกับการนับ ปฏิโลมโต ถอยไป ปฏฺฅาย จับตั้งแต่ จุติจิตฺตโต แต่จุติจิต] หรือ นิโรโธ วา  หรือว่า ความดับไป[๑๓] เอกโต พร้อมกัน  [จุติจิตฺเตน ด้วยจุติจิต สตฺตรสเมน ซึ่งเป็นจิตดวงที่ ๑๗ คณนาวเสน โดยเกี่ยวกับการนับ อนุโลมโต โดยลำดับ ปฏฺฅาย จับตั้งแต่ ยถาวุตฺตภวงฺคจิตฺตโต แต่ภวังคจิตดวงที่กล่าวมาแล้ว] เอเตสํ รูปธมฺมานํ ของรูปธรรมเหล่านั้น [อุปฺปนฺนานํ ที่เกิดขึ้น อุปฺปาทกฺขเณ ในอุปปาทักขณะ ยถาวุตฺตภวงฺคจิตฺตสฺส แห่งภวังคจิตดวงที่กล่าวมาแล้ว อตฺถิ มีอยู่]" ดังนี้, น สกฺกา บัณฑิต ไม่อาจ นิวาเรตุ เพื่ออันห้าม ปสงฺโค ความเกี่ยวข้อง รูปธมฺมานํ แห่งรูปธรรม อุปฺปชฺชิตฺวา ที่เกิดขึ้น [สห พร้อมกัน ยถาวุตฺตภวงฺคจิตฺเตน กับภวังคจิตดวงที่กล่าวมาแล้ว] ปุเรตรํ [= อุปฺปาทกฺขเณ ในอุปปาทักขณะ ยถาวุตฺตภวงฺคจิตฺตสฺส แห่งภวังคจิตดวงที่กล่าวมาแล้ว ปุพฺพตเร ที่เกิดก่อน อุปฺปาทกฺขณโต อุปปาทักขณะ จุติจิตฺตสฺส แห่งจุติจิต]   นิรุชฺฌมานานมฺปิ แม้ดับไป ภงฺคกฺขเณ ในภังคักขณะ จิตฺตสฺส  = จุติจิตฺตสฺส  แห่งจุติจิต [เอกุปฺปาทภาวโต เพราะมีความเกิดขึ้นพร้อมกัน จิตฺเตน กับจิต   วา = อฃฺเฃน อีกดวงหนึ่ง.  เอกนิโรธภาวโต เพราะมีความดับไปพร้อมกัน จิตฺเตน จิต วา = อฃฺเฃน อีกดวงหนึ่ง] อิติ เพราะเหตุนั้น เอกาลมฺพนคฺคหณํ คำว่า มีอารมณ์เดียวกัน  อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวไว้ อสกฺกุเณยฺยตฺตา  เพราะความที่ - เจโตยุตฺตตาปตฺติยา การเข้าถึงความเป็นธรรมที่ประกอบกับจิต  ยถาวุตฺตรูปธมฺมานํ แห่งรูปธรรมดังกล่าว ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต - ไม่สามารถ  นิวาเรตุ ห้ามได้].

          ๑๖๒. เย  เอว  ติวิธลกฺขณา  ธมฺมา  เต นิยมโต เอกวตฺถุกาเยวาติ ทสฺสนตฺถ เอกวตฺถุคหณนฺติ. อลมติปปฺเจน.
          เอกวตฺถุคหณํ คำว่า มีวัตถุเดียวกัน [อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้] ทสฺสนตฺถํ เพื่ออันแสดง อิติ ว่า เย ธมฺมา ธรรมเหล่าใด ติวิธลกฺขณา มีลักษณะ ๓ อย่าง เอวํ อย่างนี้, เต ธรรมเหล่านั้น เอกวตฺถุกา เอว ชื่อว่า มีวัตถุเป็นอันเดียวกันนั่นเอง นิยมโต โดยแน่นอน อิติ ฉะนี้แล. [๑๔]อลํ = อยุตฺตํ ไม่เหมาะเลย อติปปฃฺเจน ด้วยการขยายความมากจนเกินไป[๑๕].
---------------
อฃฺฃสมานาเจตสิกวณฺณนา
อฃฺฃสมานาเจตสิกวณฺณนา อธิบายอัญญสมานาเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
          ๑๖๓. กถนฺติ  สรูปสมฺปโยคาการาน  กเถตุกมฺยตาปุจฺฉา.  ผุสตีติ ผสฺโส.  สฺวาย  ผุสนลกฺขโณ.  อยฺหิ  อรูปธมฺโมปิ  สมาโน อารมฺมเณ  ผุสนากาเรเนว  ปวตฺตติ  สา  จสฺส  ผุสนาการปฺปวตฺติ อมฺพิลขาทกาทีน  ปสฺสนฺตสฺส  ปรสฺส  เขฬุปฺปาทาทิ  วิย ทฏฺพฺพา.
          กถํ อิติ ปทํ บทว่า อย่างไรบ้าง  กเถตุกมฺยตาปุจฺฉา เป็นคำถามที่ต้องการเพื่อจะแสดง สรูปสมฺปโยคาการานํ ซึ่งสภาวะที่มีอยู่ [ทฺวิปฃฺจปฃฺฃาสธมฺมานํ แห่งธรรม ๕๒] และอาการที่ประกอบร่วมกัน.
          โย ธมฺโม ธรรมใด ผุสติ ย่อมกระทบ อิติ เพราะเหตุนั้น โส ธมฺโม   ธรรมนั้น ผสฺโส ชื่อว่า ผัสสะ.[๑๖] โส อยํ ผัสสะนี้นั้น ผุสนลกฺขโณ มีการกระทบเป็นลักษณะ.[๑๗]  หิ จริงอยู่ อยํ ผัสสะนี้ อรูปธมฺโมปิ แม้เป็นอรูปธรรม สมาโน เป็นอยู่ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ผุสนากาเรน โดยอาการที่กระทบ[๑๘] อารมฺมเณ ในอารมณ์ เอว นั่นเทียว,  อนึ่ง สา ผุสนาการปฺปวตฺติ ความเป็นไปโดยอาการที่กระทบนั้น อสฺส ของผัสสะนั้น  ทฏฺฅพฺพา บัณฑิตพึงเห็น วิย เหมือนกับ เขฬุปฺปาทาทิ อาการมีการเกิดขึ้นแห่งน้ำลายเป็นต้น ปรสฺส แห่งชนผู้หนึ่ง ปสฺสนฺตสฺส ผู้เห็นอยู่ ชนานํ ซึ่งชนอีกคนหนึ่ง  อมฺพิลขาทกาทีนํ [๑๙]   ผู้เคี้ยวกินของเปรี้ยวเป็นต้น.

          ๑๖๔.เวทิยติ  อาลมฺพนรส  อนุภวตีติ  เวทนา.  สา  เวทยิตลกฺขณา.อารมฺมณรสานุภวนฺหิ  ปตฺวา  เสสสมฺปยุตฺตธมฺมา  เอกเทสมตเตเนว อนุภวนฺติ.  เอกสโต  ปน  อิสฺสรวตาย  เวทนาว อนุภวนฺติ.  ตถาเหสา  สุโภชนรสานุภวนกราชา   วิยาติ  วุตฺตา.  สุขาทิวเสน  ปนสฺสา  เภท  สยเมว  วกฺขติ.
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด เวทิยติ = อนุภวติ[๒๐] ย่อมเสวย อาลมฺพนรสํ    ซึ่งรสแห่งอารมณ์ [๒๑]  อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น เวทนา   ชื่อว่า เวทนา. สา เวทนานั้น เวทยิตลกฺขณา[๒๒] มีความเป็นไปโดยอาการที่เสวย(รสอารมณ์)เป็นลักษณะ. หิ จริงอยู่ เสสสมฺปยุตฺตธมฺมา  สัมปยุตธรรมที่เหลือทั้งหลาย ปตฺวา ถึง  อารมฺมณรสานุภวนํ ซึ่งการเสวยรสของอารมณ์ อนุภวนฺติ ย่อมเสวย เอกเทส-           มตฺเตเนว โดยเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.[๒๓] ปน แต่ว่า เวทนา ว เวทนานั่นเทียว  อนุภวนฺติ ย่อมเสวย เอกํสโต โดยส่วนเดียว อิสฺสรวตาย อย่างมีความเป็นใหญ่. ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอสา เวทนานี้ วุตฺตา อันพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ อิติ ว่า วิย เหมือนกับ    สุโภชนรสานุภวนกราชา พระราชาผู้เสวยรสแห่งโภชนะอันเลิศ ฉะนั้น.[๒๔]  ปน ก็  อาจริโย ท่านอาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว เภทํ ซึ่งประเภท อสฺสา เวทนานั้น สุขาทิวเสน โดยเนื่องด้วยสุขเวทนาเป็นต้น สยํ[๒๕] ด้วยตนเอง เอว นั่นเทียว.[๒๖]

          ๑๖๕. นีลาทิเภทารมฺมณ  สฺชานาติ สฺ  กตฺวา  ชานาตีติ  สฺา.  สา สฺชานนลกฺขณา.  สา หิ  อุปฺปชฺชมานา  ทารุอาทีสุ  วฑฺฒกีอาทีน  สฺากรณ  วิย  ปจฺฉา สฺชานนสฺส  การณภูต  อาการ  คเหตฺวา  อุปฺปชฺชติ.   นิมิตฺตการิกาย ปน  ตาเวต  ยุชฺชติ,  นิมิตฺเตน  สฺชานนฺติยา  ปน  กถนฺติ.  สาปิ  ปุน  อปราย  สฺาย สฺชานนสฺส  นิมิตฺต  อาการ คเหตฺวา อุปฺปชฺชตีติ  น  เอตฺถ  โกจิ  อสมฺภโว.
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด สญฺชานาติ = ชานาติ คือ ย่อมรู้ นีลาทิเภทารมฺมณํ ซึ่งอารมณ์อันต่างโดยสีมีเขียวเป็นต้น กตฺวา โดยกระทำ  สฃฺฃํ เป็นเครื่องกำหนดหมาย  [เอวํ อิติ ว่า เป็นอย่างนี้] [๒๗]  อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ  ธรรมชาตินั้น สฃฺฃา ชื่อว่า สัญญา. สา สัญญานั้น สฃฺชานนลกฺขณา มีการหมายรู้เป็นลักษณะ. [๒๘]หิ จริงอยู่ สา สัญญานั้น อุปฺปชฺชมานา เมื่อเกิดขึ้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น คเหตฺวา ถือเอา อาการํ ซึ่งอาการ[๒๙] การณภูตํ อันเป็นเหตุ สฃฺชานนสฺส แห่งการจำได้ ปจฺฉา ในภายหลัง วิย เหมือนกับ สฃฺฃากรณํ การทำเครื่องหมาย ทารุอาทีสุ ที่วัตถุมีไม้เป็นต้น วฑฺฒกีอาทีนํ แห่งนายช่างไม้เป็นต้น.
          โจทนา ท้วง อิติ ว่า ปน ก็ เอตํ [= ปุน สฃฺชานนนิมิตฺตกรณํ การทำเครื่องหมายอันเป็นเหตุแห่งการจำได้อีก] นี้ ยุชฺชติ ย่อมควร นิมิตฺตการิกาย [= ปจฺฉาสฃฺชานนปจฺจยสฃฺฃาณการิกาย ปฅมาย สฃฺฃาย] แก่สัญญาแรกที่เป็นสภาวะทำเครื่องหมายมีสัณฐานเป็นต้นอันเป็นปัจจัยแก่การจำได้ในภายหลังตาว ก่อน, ปน แต่ว่า [ยุชฺชติ ย่อมควร สฃฺฃาย แก่สัญญา ทุติยาย ที่ ๒ อปราย ต่อมา]              สฃฺชานนฺติยา ที่กำลังจำ นิมิตฺเตน โดยนิมิต [นีลาทิทีฆาทินา มีเขียวเป็นต้นและยาวเป็นต้น] กถํ ได้อย่างไร?
          วิสชฺชนํ ตอบ อิติ ว่า สาปิ สฃฺฃา ทุติยา สัญญาที่ ๒ แม้นั้น สฃฺชานนฺติยา ที่กำลังจำ           นิมิตฺเตน โดยนิมิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น คเหตฺวา ถือเอา อาการํ ซึ่งอาการมีสัณฐานเป็นต้น นิมิตฺตํ อันเป็นปัจจัย สฃฺฃาย แก่สัญญา อปราย ต่อมา ปุน อีก อิติ เพราะเหตุนั้น อสมฺภโว ความไม่ถูกต้อง โกจิ ไรๆ เอตฺถ ในสัญญาที่กำลังจดจำด้วยนิมิตนี้ น โหติ ย่อมไม่มี.[๓๐]
          ๑๖๖. เจเตติ อตฺตนา สมฺปยุตฺตธมฺเม  อารมฺมเณ  อภิสนฺทหติ  สงฺขตาภิสงฺขรเณ  วา พฺยาปารมาปชฺชตีติ  เจตนา.  ตถาหิ  อยเมว  อภิสงฺขรเณ ปธานตฺตา วิภงฺเค  สุตฺตนฺตภาชนีเย  สงฺขารกฺขนฺธ  วิภชนฺเตน  สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ สงฺขาราติ  วตฺวา  จกฺขุสมฺผสฺสชาเจตนาติอาทินา  นิทฺทิฏฺา. สา  เจตยิตลกฺขณา  เชฏฺสิสฺสมหาวฑฺฒกี-อาทโย วิย สกิจฺจปรกิจฺจสาธิกาติ ทฏฺพฺพา.   เอกคฺคตาวิตกฺกวิจารปีตีน  สรูปวิภาวน เหฏฺา  อาคตเมว. 
          ยา ธมฺมชาติ ธรรมชาติใด เจเตติ = อภิสนฺทหติ ย่อมจัดการ[๓๑]  สมฺปยุตฺตธมฺเม ซึ่งธรรมที่สัมปยุตกับ อตฺตนา ด้วยตน อารมฺมเณ ไว้ในอารมณ์ ,   วา อีกอย่างหนึ่ง [เจเตติ] = อาปชฺชติ ย่อมถึง พฺยาปารํ ซึ่งความขวนขวาย[๓๒]  สงฺขตาภิสงฺขรเณ ในการปรุงแต่งซึ่งสังขตธรรม[๓๓] อิติ เพราะเหตุนั้น สา ธมฺมชาติ ธรรมชาตินั้น เจตนา ชื่อว่า เจตนา. ตถาหิ จริงอย่างนั้น ปธานตฺตา เพราะความที่ - เจตนาย แห่งเจตนาเป็นประธาน อภิสงฺขรเณ ในการปรุงแต่ง อยํ เจตนา เจตนานี้ เอว เท่านั้น ภควตาอันพระผู้มีพระภาค  วิภชนฺเตน  เมื่อทรงจำแนก สงฺขารกฺขนฺธํ  ซึ่งสังขารขันธ์ สุตฺตนฺตภาชนีเย ไว้ในสุตตันตภาชนีย์ วิภงฺเค ในพระบาฬีวิภังค์[๓๔]  วตฺวา ตรัสแล้ว อิติ ว่า [โย สภาโว สภาวะใด] อภิสงฺขโรติ ย่อมปรุงแต่ง สงฺขตํ ซึ่งสังขตธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น [โส สภาโว สภาวะนั้น] สงฺขาโร ชื่อว่า สังขาร ดังนี้ นิทฺทิฏฺฅา แล้วทรงแสดงไข อิติ ว่า จกฺขุสมฺผสฺสชาเจตนา ได้แก่ เจตนาอันเกิดแต่จักขุสัมผัส" ดังนี้. [๓๕]
          สา เจตนา เจตนานั้น เจตยิตลกฺขณา ที่มีการจัดการเป็นลักษณะ[๓๖]    ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต ทฏฺฅพฺพา พึงเห็น อิติ ว่า  วิย  เหมือนกับ เชฏฺสิสฺส มหาวฑฺฒกีอาทโย ปุคฺคลา บุคคลทั้งหลายมีหัวหน้าศิษย์และช่างใหญ่เป็นต้น สกิจฺจปรกิจฺจสาธิกา ผู้ยังกิจของตนและกิจของผู้อื่นให้สำเร็จอยู่.[๓๗]
          สรูปวิภาวน การแสดงลักษณะ[๓๘] เอกคฺคตาวิตกฺกวิจารปีตีนํ ของเอกัคคตา วิตก วิจาร และปีติ  อาคตํ มาแล้ว เหฏฺา [รูปาวจรจิตฺตวณฺณนายํ ในคำอธิบายรูปาวจรจิต] ข้างต้น เอว นั่นเทียว.
          ๑๖๗. ชีวนฺติ เตน สมฺปยุตฺตธมฺมาติ ชีวิต. ตเทว สหชาตานุปาลเน อธิปจฺจโยเคน  อินฺทฺริยนฺติ  ชีวิตินฺทฺริย. ต  อนุปาลนลกฺขณ  อุปฺปลาทีนิ  อนุปาลก  อุทก  วิย. 
          สมฺปยุตฺตธมฺมา สัมปยุตธรรมทั้งหลาย[๓๙] ชีวนฺติ [= ปวตฺตนฺติ] ย่อมเป็นไป[๔๐] เตน ธมฺมชาเตน เพราะธรรมชาตินั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น  ชีวิตํ [๔๑] ชื่อว่า ชีวิต. ตํ เอว ชีวิตนั้นนั่นเอง อินฺทฺริยํ เป็นอินทรีย์[๔๒] อธิปจฺจโยเคน โดยเนื่องด้วยความเป็นใหญ่[๔๓] สหชาตานุปาลเน[๔๔] เพราะการตามรักษาธรรมที่เกิดร่วมกัน อิติ เพราะเหตุนั้น  ชีวิตินฺทฺริยํ ชื่อว่า ชีวิตินทรีย์. ตํ ชีวิตินฺทฺริยํ ชีวิตินทรีย์นั้น อนุปาลนลกฺขณํ [=อนุปาลนสภาวํ] ที่มีการตามรักษาเป็นสภาวะ [โหติ ย่อมเป็น] วิย เหมือนกับ อุทกํ น้ำ[๔๕] อนุปาลกํ ที่ตามรักษา  อุปฺปลาทีนิ[๔๖] ซึ่งบัวมีบัวอุบลเป็นต้น.
          ๑๖๘. กรณ  กาโร.  มนสฺมึ  กาโร  มนสิกาโร.   โส  เจตโส   อารมฺมเณ สมนฺนาหารลกฺขโณ.
          กรณํ การกระทำ กาโร ชื่อว่า การะ. กาโร การกระทำ มนสฺมึ เข้าไว้ในใจ มนสิกาโร ชื่อว่า มนสิการ.[๔๗] โส มนสิกาโร มนสิการนั้น สมนฺนาหารลกฺขโณ มีการนำเอา - เจตโส ซึ่งจิต อารมฺมเณ เข้าไว้ในอารมณ์ - เป็นลักษณะ.[๔๘]
          ๑๖๘. วิตกฺโก  สหชาตธมฺมาน  อารมฺมเณ  อภินิโรปนสภาวตฺตา  เต ตตฺถ  ปกฺขิปนฺโต  วิย  โหติ,  เจตนา  อตฺตนา  อาลมฺพนคฺคหเณน ยถารุเฬฺห  ธมฺเมปิ  ตตฺถ        นิโยเชนฺตี  พลนายโก  วิย  โหติ, มนสิกาโร เต  อารมฺมณาภิมุขปฺปโยชนโต  อาชานียาน  ปโยชนกสารถิ  วิยาติ อยเมเตส  วิเสโส.
          วิเสโส ความแตกต่างกัน เอเตสํ แห่งธรรมเหล่านี้ อยํ นี้[๔๙] อิติ คือ อภินิโรปน-สภาวตฺตา เพราะความที่แห่ง [วิตกฺกสฺส วิตก] มีการยก สหชาตธมฺมานํ ซึ่งธรรมที่เกิดร่วมกันไว้ อารมฺมเณ ในอารมณ์ - เป็นสภาวะ วิตกฺโก วิตก โหติ จึงเป็น วิย เหมือน ปกฺขิปนฺโต วางไว้ เต สหชาตธมฺเม ซึ่งธรรมที่เกิดร่วมกัน ตตฺถ เข้าไว้ในอารมณ์นั้น. เจตนา เจตนา  นิโยเชนฺตี เมื่อชักนำ ธมฺเมปิ แม้ซึ่งธรรมทั้งหลาย ยถารุฬฺเห ตามที่วิตกยกขึ้นแล้ว ตตฺถ เข้าไว้ในอารมณ์ อตฺตนา โดยตนเอง                อาลมฺพนคฺคหเณน โดยการให้รับอารมณ์ได้ โหติ จึงเป็น วิย เหมือนกับ พลนายโก แม่ทัพ.[๕๐]   มนสิกาโร มนสิการ โหติ ย่อมเป็น วิย เหมือนกับ  ปโยชนกสารถิ  นายสารถีผู้บังคับ อาชานียานํ ซึ่งม้าอาชาไนย อารมฺมณาภิมุขปฺปโยชนโต เพราะการบังคับ[๕๑] -  เต = สหชาตธมฺเม ซึ่งธรรมที่เกิดร่วมกัน - ให้มุ่งหน้าตรงต่ออารมณ์.

          ๑๖๙. ธมฺมานฺหิ  ตตยาถาวสรสลกฺขณ  สภาวโต ปฏิวิชฺฌิตฺวา  ภควตา  เต  เต  ธมฺมา  วิภตฺตาติ  ภควติ  สทฺธาย เอว  วิเสสา  อิเม  ธมฺมาติ  โอกปฺเปตฺวา  อุคฺคหณ-ปริปุจฺฉาทิวเสน เตส  สภาวสมธิคมาย  โยโค  กรณีโย,   น  ปน  ตตฺถ  ตตฺถ วิปฺปฏิปชฺชนฺเตหิ  สมฺโมโห อาปชฺชิตพฺโพติ อยเมตฺถ อาจริยาน อนุสาสนี.
          อยํ กถา ข้อความนี้[๕๒] อิติ ว่า ปณฺฑิเตน บัณฑิต  โอกปฺเปตฺวา กำหนดลงไป [๕๓] อิติ ว่า อิเม ธมฺมา ธรรมเหล่านี้ วิเสสา มีความต่างกัน เอวํ อย่างนี้ ดังนี้ สทฺธาย[๕๔] ด้วยศรัทธา ภควติ ในพระผู้มีพระภาค อิติ ว่า หิ จริงอยู่ เต ธมฺมา ธรรมเหล่านั้น  ภควตา อันพระผู้มีพระภาค วิภตฺตา ผู้ - ปฏิวิชฺฌิตฺวา ทรงแทงตลอดแล้ว ตํตํยาถาว-สรสลกฺขณํ ซึ่งลักษณะอันเป็นสภาวะของตนตามความเป็นจริงนั้นๆ[๕๕] ธมฺมานํ  แห่งธรรมทั้งหลาย สภาวโต โดยสภาวะ[๕๖] แล้ว - ทรงจำแนกไว้" ดังนี้ แล้ว  กรณีโยพึงกระทำ  โยโค ความเพียร สภาวสมธิคมาย เพื่อแทงตลอดสภาวะ เตสํ แห่งธรรมเหล่านั้น อุคฺคหณปริปุจฺฉาทิวเสน โดยเกี่ยวกับการเรียน[๕๗]และการสอบถามเป็นต้นเถิด. ปน ส่วน วิปฺปชฺชนฺเตหิ บุคคลผู้กำลังสำคัญผิด[๕๘] ตตฺถ ตตฺถ ในธรรมนั้นๆ น   อาปชฺชิตพฺโพ ก็จะไม่เข้าถึง สมฺโมโห ความลุ่มหลง[๕๙] ดังนี้ อนุสาสนี เป็นคำพร่ำสอน  อาจาริยานํ แห่งอาจารย์ทั้งหลาย[๖๐] เอตฺถ ในเรื่องนี้[๖๑].

          ๑๗๐. สพฺเพสมฺปิ  เอกูนนวุติจิตฺตาน  สาธารณา  นิยมโต  เตสุ  อุปฺปชฺชนโตติ สพฺพจิตฺตสาธารณา นาม.
          [ผสฺสาทโย เจตสิกา สตฺต เจตสิกทั้งหลาย ๗ มีผัสสะเป็นต้น] สาธารณา เป็นสาธารณะ[๖๒]อกูนนวุติจิตฺตานํ แก่จิต ๘๙ สพฺเพสํปิ แม้ทั้งปวง อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้น เตสุ ในจิตเหล่านั้น นิยมโต โดยแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น  สพฺพจิตฺต-          สาธารณา นาม[๖๓] ชื่อว่า สัพพจิตตสาธารณะ
[สพฺพจิตฺตสาธารณเจตสิกวณฺณนา นิฏฺฅิตา
สพฺพจิตฺตสาธารณเจตสิกวณฺณนา อธิบายสัพพจิตตสาธารณเจตสิก นิฏฺฅิตา จบ]

           ๑๗๑.อธิมุจฺจน  อธิโมกฺโข.  โส  หิ  สนฺนิฏฺานลกฺขโณ  อารมฺมเณ นิจฺจลภาเวน  อินฺทขีโล  วิย  ทฏฺพฺโพ.
          อธิมุจฺจนํ การตัดสินอารมณ์ อธิโมกฺโข ชื่อว่า อธิโมกข์. หิ จริงอยู่ โส อธิโมกข์นั้น สนฺนิฏฺฅานลกฺขโณ อันมีการตัดสินอารมณ์เป็นลักษณะ ทฏฺฅพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น วิย เหมือนกับ อินฺทขีโล เสาเขื่อน นิจฺจลภาเวน เพราะไม่หวั่นไหว อารมฺมเณ ในอารมณ์.
 
          ๑๗๒. วีราน  ภาโว  กมฺม  วา  วิธินา  อีรยิตพฺพ  ปวตฺเตตพฺพนฺติ  วา  วิริย             อุสฺสาโห. โส สหชาตาน  อุปตฺถมฺภนลกฺขโณ.  วิริยวเสน  หิ  เตส  โอลีนวุตฺติตา น  โหติ.  เอวฺจ  กตฺวา  อิมสฺส  วิตกฺกาทีหิ  วิเสโส  สุปากโฏ โหติ.
          ภาโว ภาวะ วีรานํ แห่งคนกล้า วิริยํ ชื่อว่า วิริยะ วา , กมฺมํ วา หรือ การงาน  วีรานํ แห่งคนกล้า วิริยํ ชื่อว่า วิริยะ, วา อีกนัยหนึ่ง ยํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาติใด อีรยิตพฺพํ อันบุคคลพึงให้ไป ปวตฺเตตพฺพํ คือว่า พึงให้เป็นไป วิธินา โดยวิธีการ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ธมฺมชาตํ ธรรมชาตินั้น วีริยํ ชื่อว่า วิริยะ, อุสฺสาโห ได้แก่ ความอุตสาหะ. โส วีริโย วิริยะนั้น อุปตฺถมฺภนลกฺขโณ มีการค้ำจุน - สหชาตานํ ธรรมที่เกิดร่วมกัน - เป็นลักษณะ. หิ จริงอยู่ โอลีนวุตฺติตา ความเป็นไปย่อหย่อน เตสํ แห่งธรรมที่เกิดร่วมกันนั้น น โหติ ย่อมไม่มี วิริยวเสน ด้วยอำนาจแห่งวิริยะ. เอวญฺจ กตฺวา เพราะทำอธิบายอย่างนี้ วิเสโส ความแตกต่างกัน  วิตกฺกาทีหิ จากวิตกเป็นต้น อิมสฺส แห่งวิริยะนี้  สุปากโฏ จึงเป็นอันปรากฏชัด โหติ ย่อมเป็น.

          ๑๗๓. ฉนฺทน  ฉนฺโท อาลมฺพเนนาตฺถิกตา.  โส กตฺตุกมฺยตาลกฺขโณ.  ตถาเหส  อารมฺมณคฺคหเณ  เจตโส  หตฺถปฺปสารณ วิยาติ  วุจฺจติ.
          ฉนฺทนํ  ความพอใจ ฉนฺโท ชื่อว่า ฉันทะ. โส ฉนฺโท ฉันทะนั้น กตฺตุกมฺยตาลกฺขโณ มีความเป็นผู้ใคร่จะกระทำเป็นลักษณะ. ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอโส ฉนฺโท ฉันทะนี้ วุจฺจติ พระอรรถกถาจารย์ กล่าวไว้ อิติ ว่า วิย เป็นเหมือน หตฺถปฺปสารณํ การเหยียดแขนออกไป อารมฺมณคฺคหเณ ในการรับอารมณ์ เจตโส แห่งจิต ดังนี้.

          ๑๗๔. ทานวตฺถุวิสฺสชฺชนวเสน  ปวตฺตกาเลปิ  เจส วิสฺสชฺชิตพฺเพน  เตน อตฺถิโกว  ขิปิตพฺพอุสูน  คหเณ  อตฺถิโก  อิสฺสาโส วิย.
          อนึ่ง เอส ฉนฺโท ฉันทะนี้ ปวตฺตกาเลปิ แม้ในเวลาที่เป็นไป ทานวตฺถุ-            วิสฺสชนวเสน ด้วยอำนาจการสละทานวัตถุ อตฺถิโก เป็นผู้ต้องการ วิสฺสชฺชิตพฺเพน ด้วยทานวัตถุที่ต้องสละ  เตน นั้น นั่นเทียว วิย เป็นเหมือนกับ อิสฺสาโส นายขมังธนู อตฺถิโก ผู้มีความต้องการ คหเณ ในการจับ ขิปิตพฺพอุสูนํ ซึ่งลูกศรที่จะต้องซัดไป.

          ๑๗๕. โสภเณสุ  ตทีตเรสุ  จ  ปกาเรน  กิณฺณา  วิปฺปกิณฺณาติ ปกิณฺณกา. 
          เจตสิกา เจตสิกทั้งหลาย วิตกฺกาทโย มีวิตกเป็นต้น กิณฺณา กล่นเกลื่อน ปกาเรน โดยประการ วิปฺปกิณฺณา คือว่า กระจัดกระจายไปโดยประการต่างๆ โสภเณสุ จ ในโสภณจิตด้วย ตทีตเรสุ จ ในอโสภณจิตที่เป็นอื่นไปจากโสภณจิตนั้นด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ปกิณฺณกา ชื่อว่าปกิณณกะ.

          ๑๗๖. โสภณาเปกฺขาย  อิตเร  อิตราเปกฺขาย  โสภณา  จ  อฺเ  นาม.  เตส  สมานา  น  อุทฺธจฺจาทิสทฺธาทโย วิย อกุสลาทิสภาวาเยวาติ  อฺสมานา.
          โสภณาเปกฺขาย เพราะเพ่งถึง (คือเทียบ) กับโสภณจิต อิตเร [อโสภณา]          อโสภณจิตนอกนี้ อฃฺเฃ นาม  ชื่อว่า อัญญะ, อิตราเปกฺขาย เพราะเพ่งถึงอโสภณจิตนอกนี้ โสภณา โสภณจิต อฃฺเฃ นาม ชื่อว่า อัญญะ, เจตสิกา เจตสิกทั้งหลาย            สมานา ที่ทั่วไป เตสํ โสภณาโสภณานํ แก่โสภณจิตและอโสภณจิตเหล่านั้น น             อกุสลาทิสภาวา เอว คือมิได้มีสภาวะเป็นอกุศลเป็นต้น เท่านั้น วิย เหมือนอย่างกับ อุทฺธจฺจาทิสทฺธาทโย อกุศลเจตสิกทั้งหลายมีอุทธัจจะและโสภณเจตสิกทั้งหลายมีสัทธาเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น เต เจตสิกา เจตสิกเหล่านั้น อฃฺฃสมานา จึงชื่อว่า อัญญสมานเจตสิก.

อฃฺฃสมานาเจตสิกวณฺณนา นิฏฺฅิตา
อฃฺฃสมานาเจตสิกวณฺณนา การอธิบายอัญญสมานเจตสิก นิฏฺฅิตา จบแล้ว.

˜v








[๑] มณิ.แนะให้ว่า อนุปฺปตฺตตา สัมพันธ์เข้ากับ อิทานิ.
[๒] หมายความว่า แสดงการจำแนกไปตามสมควรแก่จิตในภูมินั้น คือ แสดงการจำแนกกามาวจรจิต โดยประเภทแห่งภูมิ ชาติ สัมปโยคะและสังขาร. รูปาวจรจิตโดยประเภทแห่งฌาน, อรูปาวจรจิตโดยประเภทแห่งอารมณ์และโลกุตตรจิตโดยประเภทแห่งมรรค ตามสมควร.
[๓] ด้วยข้อความนี้แสดงว่า ประมวลเนื้อความของเจตสิกปริจเฉท นี้มีอยู่ ๔ ประการคือ ๑. ลักษณะแห่งความเป็นเจตสิก ๔ ประการ มีการเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นต้น, ๒. เจตสิกธรรมเหล่านี้ถูกยกขึ้นแสดงเป็น ๓ กลุ่ม, ๓. สัมปโยคนัยของเจตสิกเหล่านั้น (การประกอบกับจิตแห่งเจตสิก) มีโดยอาการหรือ ๑๖ ประเภท. ๔. การสงเคราะห์จิตที่มีเจตสิกประกอบมี ๓๓ อย่าง.
[๔] สัมปโยคะ ได้แก่ การที่เจตสิกประกอบในจิตตุปบาทที่สมควรโดยประการเป็นต้นว่า มีการเกิดขึ้นพร้อมกัน เป็นต้นร่วมกัน [เจตสิกแต่ละดวงมีอยู่ในจิตกี่ดวงตามที่จะประกอบได้]. ส่วนสังคหะ  ได้แก่ ภาวะที่เจตสิกเหล่านั้นประชุมกันแล้วพึงถูกถือเอา [การนับจำนวนว่าในจิตแต่ละดวงมีเจตสิกเท่าใด].
[๕] แปลตามนัยของโยชนาที่แสดงว่า ตาว ศัพท์ ได้แก่ โดยลำดับแห่งการกระทำมีการตั้งลักษณะเป็นต้น. แต่ในมณิ. ให้แปลเป็นบทไขความของ ปฅมํ. ถ้าเอาตามนัยที่มาในมณิ. ก็จะได้คำแปลว่า ปฅมํ = ตาว ก่อนจะแสดงเจตสิกธรรม
[๖] ในบทที่ ๑ ว่า เอกุปฺปาทนิโรธ คำว่า เอก มาจาก เอกโต นิบาต ซึ่งมีอรรถแห่ง สห ศัพท์ (แปลว่า พร้อม) และลบ โต ที่เอกโต จึงได้รูปว่า เอกุปฺปาทนิโรธา. ส่วนในบทที่ ๒ ว่า เอกลมฺพนวตฺถุก ศัพท์ว่า เอก มีอรรถว่า สมาน (เสมอกัน).
[๗] มณิ.ให้คำอธิบายว่า เจตสิกา นามาติ มนฺตพฺพา ฃาตพฺพา. อันบัณฑิตรู้ ว่า ชื่อว่า เจตสิก. อีกนัยหนึ่ง มต ศัพท์ มีอรรถว่า ภาสิต กล่าว เพราะธาตุมีอรรถมาก ข้อนี้สมดังที่ท่านกล่าวว่า มตนฺติ ภาสิตํ (มุขมัตตสารฏีกา ตามที่มณิ.อ้างไว้). ในที่นี้แปลตามนัยที่ว่า กล่าว
[๘] นิยตโยคี มีวจนัตถะว่า นิยตา หุตฺวา ยุชฺชนฺติ สีเลนาติ นิยตโยคี. เจตสิกที่ประกอบอย่างแน่นอนโดยปกติ ชื่อว่า นิยตโยคี ได้แก่ เจตสิก ๔๑มีผัสสะเป็นต้น. ส่วนอนิยตโยคี ก็ได้แก่ เจตสิก๑๑ มี อิสสา มัจฉริยเจตสิกเป็นต้น ที่มิได้ประกอบแน่นอน.
[๙] ข้อความต่อไปนี้แสดงให้รู้ประโยชน์ในการถือเอาลักษณะทั้ง ๔ โดยไม่ถือเอาเพียงลักษณะเดียว.
[๑๐] ได้แก่ กัมมชรูปและจิตตชรูป. ส่วนอุตุชรูปและอาหารชรูป แม้ว่าเกิดขึ้นพร้อมกันกับจิต ก็ไม่ได้โวหารว่า เกิดพร้อมกับจิต เพราะไม่ได้สหชาตปัจจัยจากจิต เพราะฉะนั้น รูปธรรมนั้น ก็จะพึงสำเร็จ ความเป็นเจตสิก เพราะภาวะที่เกิดขึ้นพร้อมกับจิต.
[๑๑] เพิ่มปาฐเสสะตามนัยที่มาในมณิ. แม้ข้างหน้าก็เหมือนกัน
[๑๒] หมายความว่า  กายวิญญัติและวจีวิญญัติทั้งสอง นี้ดำรงอยู่เท่าที่จิตยังดำรงอยู่
[๑๓] วา ศัพท์มีอรรถวิกัปปัตถะ หมายถึงว่า ความเกิดขึ้นและความดับไปมีคนละขณะ มิได้มีในขณะเดียวกัน. ด้วยวาศัพท์นี้ จึงได้ความหมายว่ารูปธรรมไม่มีความเกิดขึ้นไปและดับไปพร้อมกับจิตดวงเดียวกันเลย. 
[๑๔] หรืออีกนัยหนึ่ง ความจริง เพียงลักษณะสามประการข้างต้นก็เพียงพอแล้ว แต่การกล่าวลักษณะที่ ๔ ว่า มีวัตถุเป็นอันเดียวกัน เพิ่มเข้ามาอีก ก็เพื่อจะแสดงให้เห็นว่า เจโตยุตตะ หรือการประกอบกับจิตของเจตสิกมี ๔ ลักษณะ เต็มจำนวนแล้ว สูงสุดแล้ว ไม่มีมากกว่านี้อีก ทั้งนี้เป็นการกล่าวโดยอุกกัฏฐนัย นัยที่ให้เข้าถึงความหมายได้โดยระบุถึงสิ่งสูงสุด. (คำอธิบายเรื่อง อุกกัฏฐนัย จากหนังสือหลักสูตรธัมมาจริยะของพม่า).
[๑๕] ถ้าแปลตามนัยของมณิ. ก็จะได้คำแปลว่า  กิฃฺจิ ปโยชนํ ประโยชน์ใดๆ อติปปฃฺเจน = อติวิตฺถาเรน ด้วยคำขยายความมากเกิน อลํ = นตฺถิ ย่อมไม่มี. อีกนัยหนึ่ง อติปปฃฺเจน นี้ลงตติยาวิภัตติในอรรถปฐมา จึงแปลว่า อติปฺปปฃฺเจน = อติปฺปปฃฺโจ การขยายความมากเกิน อลํ = อยุตฺโต ไม่สมควรเลย. และได้อธิบายโดยหมายถึงการอธิบายโดยปฏิโลมในคัมภีร์มูลฏีกาว่า "คำนี้กล่าวไว้โดยอนุเคราะห์ผู้ที่ขยาดต่อคำอธิบายมากเกินของคัมภีร์ เพราะในอภิธัมมฏีกาท่านได้กล่าวเหตุและประโยชน์ในการกล่าวบทที่๒ เป็นต้น โดยปฏิโลม ไว้แล้ว.
            โยชนาอธิบายว่า หมายถึง การปฏิเสธที่จะกล่าวโดยปฏิโลม ดังนี้ว่า 
            ถ้ากล่าวเพียง เอกวตฺถุกา มีวัตถุเดียวกัน ภูตรูป ๓ และอุปาทายรูป ก็จะเป็นสภาวะที่ประกอบกับจิต. [กล่าวคือ ในบรรดาอวินิพโภครูป ๘ ที่เป็นจิตตชรูป มหาภูตรูปอย่างหนึ่ง เป็นนิสสยปัจจัยแก่ภูตรูปสามที่เหลือและอุปาทารูป เพราะเหตุนั้น มหาภูตรูปสามเป็นต้นเหล่านั้น ชื่อว่า มีวัตถุเดียวกัน โดยมหาภูตรูปนั้นๆ] เพราะฉะนั้น จึงต้องระบุว่า เอการมฺมณ มีอารมณ์เดียวกัน.
            ถ้ากล่าวเพียง เอการมฺมณ มีอารมณ์เดียวกัน ความที่ธรรมแม้ทั้งปวงในมรณาสันนวิถี จะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย จึงต้องระบุว่า เอกนิโรธ ดับพร้อมกัน
            การระบุว่า เอกุปฺปาท เกิดขึ้นพร้อมกัน เพื่อให้รู้ว่า ธรรมที่มีลักษณะ ๓ ประการอย่างนี้ ชื่อว่า เอกุปฺปาท เกิดขึ้นพร้อมกัน
            อนึ่ง ในเรื่องนี้คัมภีร์มูลฏีกามีคำอธิบายแต่แสดงลำดับต่างกันดังนี้ ว่า
            ถ้ากล่าวเพียง เอการมฺมณ มีอารมณ์เดียวกัน ปัญจวิญญาณและสัมปฏิจฉันนะ (รวมสันตีรณะเป็นต้น - มธุฏีกา) ที่มีวัตถุต่างกัน มีอารมณ์เดียวกัน ซึ่งเป็นไปในวิถีเดียวกัน และที่เกิดในสันดานเดียวกันและสันดานต่างกันในวิถีต่างกัน จะถึงความเป็นธรรมที่สัมปยุตกัน ดังนั้น จึงกล่าวว่า เอกวตฺถุก มีวัตถุเดียวกัน,
            ถ้าว่า "ธรรมเหล่าใด มีวัตถุเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่า สัมปยุต".  เมื่อเป็นอย่างนี้ สัมปฏิจฉันนะ สันตีรณะ โวฏฐัพพนะ ชวนะและตทารัมมณะ [ซึ่งมีวัตถุและอารมณ์เดียวกัน ที่เป็นไปในมรณาสันนวิถี เพราะสัมปฏิจฉันนะเป็นต้นเหล่านั้น ย่อมเป็นไปในหทัยวัตถุอย่างเดียว (คือรูปเดียว) เท่านั้น เพราะกัมมชรูปไม่เกิดต่อจากนั้น. เพราะสัมปฏิจฉนะเป็นต้นที่ไม่ใช่เป็นไปในเวลาใกล้จุติ ย่อมเป็นไป ต่อไปเรื่อยๆ ในหทัยวัตถุ ซึ่งเกิดขึ้นในจิตตักขณะหลังๆ  - อนุฏีกา] จะเป็นธรรมที่สัมปยุตกัน เพราะฉะนั้น จึงต้องกล่าวว่า "เอกนิโรธ ดับไปพร้อมกัน".
            ถ้าว่า "ธรรมที่ดับพร้อมกัน มีวัตถุเดียวกันและมีอารมณ์เดียวกัน เป็นธรรมที่สัมปยุตกัน"แล้วไซร้. อนึ่ง เมื่อมีข้อคิดเห็นว่า ธรรมที่มีลักษณะ ๓ ประการนี้ ได้แก่ ธรรมใด ระหว่างธรรมแม้ที่เกิดขึ้นต่างขณะกันหรือที่เกิดขึ้นพร้อมกัน ดังนั้น จึงกล่าวว่า เอกุปฺปาท เกิดขึ้นพร้อมกัน เพื่อแสดงว่า ธรรมที่เกิดขึ้นพร้อมกันเท่านั้น ย่อมเป็นธรรมที่มีลักษณะ ๓ ประการ อย่างนี้.
             
[๑๖] วจนัตถะนี้เป็นกัตตุสาธนะ . อนึ่ง ที่แสดงเป็นกัตตุสาธนะ ก็เพื่อปฏิเสธกัตตาอย่างอื่นออกไปจากธรรม. หมายความว่า ธรรมใด ย่อมกระทบอารมณ์ ธรรมนั้นชื่อว่า ผัสสะ.
            นอกจากเป็นกัตตุสาธนะแล้ว การแสดงวจนัตถะของสภาวธรรมสามารถแสดงได้อีก ๒ สาธนะคือ กรณสาธนะและภาวสาธนะ ดังนี้.
            ผุสนฺติ เอเตนาติ ผสฺโส ธรรมที่ช่วยสัมปยุตธรรมกระทบอารมณ์ (กรณสาธนะ). หมายความว่า สัมปยุตธรรมย่อมเป็นไปในอารมณ์เหมือนกับว่ากระทบ ก็ด้วยผัสสะที่การกระทบกับอารมณ์นั้นเป็นต้นลักษณะ.
            อารมฺมเณ ผุสนมตฺตํ ผสฺโส เพียงการกระทบในอารมณ์เท่านั้น ชื่อว่า ผัสสะ (ภาวสาธนะ).
            ในที่นี้แสดงเพียงกัตตุสาธนะเท่านั้น ส่วนสาธนะที่เหลือพึงทราบโดยนัยนี้แม้ในเจตสิกที่เหลือก็มีนัยนี้
[๑๗] ท่านอาจารย์ เริ่มคำเป็นต้นว่า ผุสตีติ ผสฺโส ดังนี้ไว้ เพื่อทำให้ธรรมมีผัสสะเป็นต้นปรากฏด้วยวจนัตถะและลักษณะ. สมดังที่พระโบราณาจารย์กล่าวว่า ก็ธรรมทั้งหลายบัณฑิตพึงค้นหาด้วยวจนัตถะและลักษณะนั่นเทียว. และว่า "สภาวะ (ที่แข็งเป็นต้นแห่งรูปธรรมและกระทบเป็นต้นแห่งนามธรรม) หรือความเสมอกัน (มีความไม่เที่ยงเป็นต้น) แห่งธรรมทั้งหลาย คือ ลักษณะ. กิจ หรือภาวะที่ธรรมนั้นสมบูรณ์ คือ รส.  ผล ที่ตั้งขึ้นด้วยอำนาจแห่งเหตุที่เกิดร่วมกันหรือที่เกิดต่างขณะกัน หรือว่า อาการที่ปรากฏแก่ญาณ โดยภาวะที่ถูกถือเอา คือ  ปัจจุปัฏฐาน.  ส่วนเหตุใกล้ กล่าวคือเหตุอันเป็นประธาน คือ ปทัฏฐาน (อภิธัมมาวตาร คาถาที่ ๖๓๓-๔). อนึ่ง การที่ท่านไม่กล่าวรสเป็นต้น เพราะในคัมภีร์นี้เป็นการแสดงโดยสังเขป จะเห็นได้ดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า จะอธิบายโดยย่อ.  อนึ่ง ผู้ประสงค์จะแสดงถึงรสเป็นต้นแห่งธรรมเหล่านั้น ก็ควรแสดง ก็โดยนัยที่มาในอรรถกถาเท่านั้น.
            ลักษณะแห่งผัสสะนี้ หมายความว่า มีลักษณะที่กระทบอารมณ์ โดยสภาวะที่เป็นปัจจัยแห่งเวทนา. ในปรมัตถทีปนีอธิบายไว้ว่า "การกระทบในที่นี้ คือ การเข้าไปสัมผัสรสที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนาแห่งอารมณ์ ซึ่งเป็นเหตุให้เวทนาปรากฏขึ้นเสวยรสของอารมณ์"
[๑๘] โยชนาว่า อาการ ศัพท์ในที่นี้มีความหมายว่า "กิริยา" ที่กระทบแห่งผัสสะ ซึ่งปฏิเสธกิจที่กระทบโดยตรง (ใช้ศัพท์ว่า พฺยาปาร). หมายความว่า ธรรมนี้แม้จะเป็นอรูปธรรม แต่ก็มีสภาวะที่กระทบ. จริงอยู่ นามธรรมแม้จะกระทบกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้ แต่ผัสสะนี้เป็นไปโดยอาการกระทบและทำให้เกิดกิจที่ธรรมอันกระทบอารมณ์พึงให้สำเร็จได้ กล่าวคือ ทำให้จิตเปลี่ยนแปลงไปโดยสมควรแก่รสของอารมณ์ หรือทำให้เกิดเวทนาที่แตกต่างกัน ดังอุปมาการเกิดน้ำลายสอเป็นต้นที่จะแสดงต่อไป.
[๑๙] แปลตามนัยของโยชนาที่แสดงบทนี้ว่าเป็นฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถกรรม สัมพันธ์เข้ากับบทว่า ปสฺสนฺตสฺส. อนึ่ง ด้วยอาทิศัพท์นี้ท่านถือเอาข้อความดังต่อไปนี้. การที่คนหนึ่งตัวสั่น เพราะเห็นอีกคนหนึ่งกำลังถูกข่มเหง , การที่บุรุษขี้ขลาดยืนขาสั่นบนพื้นดินเพราะเห็นอีกคนหนึ่งยืนไม่ดีบนยอดไม้ และเหมือนกับการที่คนหนึ่งยืนขาแข็งเพราะเห็นสิ่งน่ากลัวมีปีศาจเป็นต้น.
[๒๐] วิท ธาตุ มีอรรถคือ ตุฏฺฅ ยินดี ฃาณ รู้ ปฏิลาภ ได้ อนุภวน เสวย (รู้สึก) ในที่นี้ใช้ในอรรถว่า อนุภวน จึงไขความว่า อนุภวติ.  แต่ในปรมัตถทีปนีให้วจนัตถะที่ได้จาก วิท ธาตุที่มีอรรถว่า            ปฏิลาภ ดังนี้ว่า วินฺทนฺติ เอตาย สตฺตา สาตํ วา อสาตํ วา ลภนฺตีติ เวทนา สภาวะที่ทำให้เหล่าสัตว์ได้รับความรู้สึกชอบใจหรือไม่ชอบใจ.
[๒๑] คำว่า อารมฺมณรสํ รสแห่งอารมณ์ นี้แปลตามนัยของโยชนา. รส มีวจนัตถะว่า รสิยเต               อสฺสาทิยเต ชเนหีติ รโส สภาวะอันชนทั้งหลายย่อมยินดี ชื่อว่า รส. อารมฺมณสฺส รโส อารมฺมณรโส รสแห่งอารมณ์ ชื่อว่า อารมฺมณรโส. แต่ในมณิ. ว่า "รสียติ, รสนฺติ วา ตนฺติ รโส. ชิวฺหาวิฃฺเฃยฺยา-รมฺมณํ. รโส วิยาติ รโส, ตทฃฺฃํ จกฺขุวิฃฺเฃยฺยาทิอารมฺมณํ. รโส จ รโส จ รสา, สพฺพารมฺมณํ. อารมฺมณฃฺจ ตํ รโส จาติ อารมฺมณรโส, ตํ. เอตฺถ จ อารมฺมณสทฺเทน สพฺพารมฺมณเมว รโสติ             อธิปฺเปโต, น ชิวฺหารมฺมณเมวาติ ทสฺเสติ.
            สภาวะที่ถูกยินดี ชื่อว่า รส, คืออารมณ์พึงรู้แจ้งทางชิวหา. เป็นดังกับว่า รส ก็ชื่อว่า รส. ได้แก่ อารมณ์พึงรู้แจ้งทางจักษุเป็นต้น อันอื่นจากอารมณ์พึงรู้แจ้งทางชิวหา. รส (คืออารมณ์พึงรู้แจ้งทางชิวหา) ด้วย รส (คืออารมณ์พึงรู้แจ้งทางจักษุเป็นต้น) ด้วย ชื่อว่า รส. ได้แก่ อารมณ์ทั้งปวง. อารมณ์ ด้วย อารมณ์นั้น เป็นรส ด้วย ชื่อว่า อารมณ์ทั้งปวงอันเป็นรส(อารมณ์ทั้งปวงพึงรู้แจ้งทางจักษุเป็นต้น). ย่อมเสวยซึ่งอารมณ์ทั้งปวงอันเป็นรส. ก็ในวจนัตถะนี้ ด้วยคำว่า อารมฺมณ ศัพท์ ประสงค์ความว่า รส คือ อารมณ์, มิได้หมายถึง อารมณ์ของชิวหาวิญญาณ." 
            โดยนัยนี้ ได้คำแปลว่า อนุภวติ ย่อมเสวย อารมฺมณรสํ ซึ่งรสคืออารมณ์. กล่าวคือ เสวยอารมณ์ ไม่ใช่แปลว่า รสแห่งอารมณ์.
[๒๒] เวทยิตลกฺขณา มีวจนัตถะดังนี้ เวเทน อนุภวนากาเรน อยิตํ ปวตฺตํ เวทยิตํ, ตํ ลกฺขณเมติสฺสาติ เวทยิตลกฺขณา. อยิตํ = ปวตฺตํ สภาวะที่เป็นไปแล้ว เวเทน = อนุภวนากาเรน โดยอาการที่เสวยรสอารมณ์ เวทยิตํ ชื่อว่า เวทยิตํ. ตํ เวทยิตํ สภาวะที่เป็นไปโดยอาการที่เสวยรสอารมณ์นั้น ลกฺขณํ เป็นลักษณะ เอติสฺสา เวทนาย แห่งเวทนานี้ อิติ เพราะฉะนั้น เวทยิตลกฺขณา เวทนา เวทนานั้น ชื่อว่า มีการเป็นไปโดยอาการที่เสวยรสอารมณ์เป็นลักษณะ
[๒๓]แม้ว่าสัมปยุตธรรมอื่นๆ จะมีการเสวยรสอารมณ์ได้เช่นเดียวกับเวทนาได้ก็จริง แต่กระนั้น ก็ไม่อาจทำกิจคือการเสวยได้โดยตรง เพราะยังต้องทำหน้าที่อื่นๆของตน กล่าวคือ เจตนา ทำหน้าที่จงใจ ผัสสะทำหน้าที่กระทบ สัญญาทำหน้าที่จำ วิญญาณ ทำหน้าที่รู้แจ้งเป็นต้นจึงชื่อว่า เสวยได้เพียงบางส่วน แต่เวทนาจะเป็นเช่นนั้นก็หามิได้ เพราะตนมิได้มีกิจอื่นๆ และความที่ตนมีหน้าที่นี้เป็นใหญ่ ด้วยเหตุนี้เอง เวทนาเท่านั้นจึงได้ชื่อว่า มีการเสวยรสอารมณ์เป็นลักษณะ ส่วนสัมปยุตธรรมที่เหลือไม่ได้ชื่อนี้. ข้อนี้จะเข้าใจความได้ชัดเจนด้วยอุปมาที่ท่านจะแสดงต่อไป.
            ธัมมสังคณีมูลฏีกา อธิบายว่า
            "คำนี้ท่านกล่าวไว้โดยมุ่งหมายว่า "กิจมีกระทบเป็นต้นนี้ ย่อมเป็นเหมือนกับเสวยรสอารมณ์ส่วนหนึ่ง. ขยายความว่า สภาวะที่ " เป็นไปโดยอาการที่เสวยอารมณ์ (เวทยิต)" เท่านั้น ชื่อว่า อนุภวน. (ข้อความนี้กล่าวโดยสทิสูปาจาระคือกล่าวโดยยกขึ้นสู่เนื้อความอื่นอันเป็นส่วนหนึ่งที่เหมือนกัน อธิบายว่า "สัมปยุตธรรมมีผัสสะเป็นต้น สามารถเรียกว่า อนุภวน คือมีการเสวยอารมณ์เหมือนกับเวทนาได้ แต่เป็นการเสวยอารมณ์ได้โดยส่วนหนึ่งแต่ไม่ทั้งหมด ส่วนเวทนาอันมีสภาวะที่เสวยอารมณ์ทั้งหมดจึงได้ชื่อว่า อนุภวน โดยตรง-มธุฏีกา)
            หรืออีกนัยหนึ่ง  "การรับอารมณ์โดยการกระทบอารมณ์เป็นต้น ชื่อว่า การเสวยรสอารมณ์โดยส่วนหนึ่ง. การรับอารมณ์โดยความเป็นไปโดยอาการที่เสวยรสอารมณ์ ชื่อว่า การเสวยรสอารมณ์ทั้งหมด ตามความต้องการ. การรับอารมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเป็นอันมีการเสวยรสอารมณ์นั้นเป็นสภาวะนั่นเทียว เพราะเหตุนั้น จึงไม่ควรทักท้วงการเสวยอารมณ์โดยความเป็นใหญ่โดยการทำกิจตามที่เป็นของตนแม้แห่งผัสสะเป็นต้น เหมือนอย่างเวทนา " (ข้อความนี้ว่าโดยมุขยะ คือ โดยตรงๆตามศัพท์ มิได้ยกขึ้นสู่สทิสูปาจาระ - อนุฏีกา . หมายความว่า ถ้าเล็งเอาความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์คือการทำกิจของตน ผัสสะเป็นต้นก็ชื่อว่า อนุภวน ได้ ไม่จำเป็นต้องพูดว่า เสวยได้ส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด เพราะไม่มีความต่างกันกับเวทนา).
[๒๔] คัมภีร์ปรมัตถทีปนีและอนุทีปนีแสดงว่า จิตและเจตสิกเหมือนพ่อครัวผู้ชิมรสอาหารอันเลิศของพระราชา และเวทนาเหมือนพระราชาผู้เสวย. จริงอย่างนั้น พ่อครัว เมื่อปรุงพระกระยาหารถวายพระราชา เพื่อชิมรสอาหาร จึงตักอาหารเล็กน้อยแล้ววางบนปลายลิ้น จึงตรวจสอบรสอาหาร.             แต่มิได้มีอำนาจกินตามที่ต้องการ. พระราชาเท่านั้น ทรงมีอำนาจที่จะเสวยตามความพระประสงค์.
[๒๕] ในที่นี้ สยํ ศัพท์ มีคำแปลว่า ด้วยตนเอง. อันที่จริง สยํ ศัพท์เป็นนิบาตมีตติยาวิภัตติ เอกวจนะเป็นที่สุด แปลว่า ด้วยตนเอง และเป็นตติยาวิภัตติใช้ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ แปลว่า  อ. ตนเอง. อีกนัยหนึ่ง บทว่า สยํ นี้ แปลว่า อ.ตนเองนั่นเทียว (หมายถึงพระอนุรุทฺธาจารย์). สยํ ศัพท์ มีปฐมาวิภัตติ เอกวจนะเป็นที่สุด ได้บ้าง เพราะนิบาตมีการลบวิภัตติทั้ง ๗ ได้ตามควร เนื่องจากเป็นอัพยยะ. เพราะเหตุนี้ สยํ ศัพท์ที่มีฉัฏฐีวิภัตติเป็นที่สุด ยังพบได้ในอุทาหรณ์ว่า สยํ = อตฺตโน ปภา  เอเตสนฺติ สปฺปภา แสงสว่าง ของตน แห่งเทพเหล่านี้ มีอยู่ เหตุนั้น เทพเหล่านี้ ชื่อว่า สปฺปภา มีแสงสว่างของตน
[๒๖] คือจะกล่าวไว้ในเวทนาสังคหะ ในปริจเฉทที่ ๓ .
[๒๗]เพิ่มเข้ามาและแปลตามนัยของโยชนา. อนึ่ง พึงทราบว่า สฃฺฃา ศัพท์ แปลว่า สภาวะที่จำ นั้นเป็นการแปลโดยโวหารัตถะ (ความหมายที่ใช้ตรงกับโวหาร) แต่เนื้อความต่อไปนี้เป็นการแสดงโดยสัททัตถะ (ความหมายตามพยัญชนะ) ซึ่งมีอธิบายตามคัมภีร์ต่างๆ ดังนี้ว่า
            คัมภีร์มณิสารมัญชูสาอธิบายว่า
            คำว่า สฃฺฃา นี้ สํ ศัพท์ เป็นอุปสัค. อนึ่ง อุปสัค มี ๓ ประการ โดยเกี่ยวกับเป็นอุปสัคที่เปลี่ยนอรรถของธาตุเป็นต้น ตามหลักการนี้ว่า
            ธาตฺวตฺถํ พาธเต โกจิ                   โกจิ ตมนุวตฺตเต
            ตเมวฃฺโฃ วิเสเสติ                     อุปสคฺคคติ ติธา
      ความเป็นไปแห่งอุปสัค ๓ ประการ คือ อุปสัคบางกลุ่ม เปลี่ยนอรรถแห่งธาตุ, บางกลุ่ม เป็นไปตามอรรถแห่งธาตุนั้น, อีกกลุ่มหนึ่ง ทำให้อรรถแห่งธาตุพิเศษขึ้น (วุตติในสูตรที่ ๒๘๒ ของคัมภีร์ปทรูปสิทธิ)
            เมื่อจะแสดงว่า สํ ในคำว่า สัญญา นี้ เป็นอุปสัคที่ทำให้อรรถแห่งธาตุพิเศษขึ้น จึงกล่าวว่า สฃฺฃํ กตฺวา โดยกระทำเป็นเครื่องกำหนดหมาย  ด้วยคำนี้ ท่านอาจารย์มิได้หมายถึงอรรถของ สํอุปสัค ๑๔ อย่าง ดังที่ท่านแสดงไว้อย่างนี้ว่า
            สํ สโมธาน สงฺเขป                      สมนฺตตฺต สมิทฺธิสุ
            สมฺมา ภุส สหปฺปตฺตา                 ภิมุขตฺเถสุ สงฺคเต
            วิธาเน ปภเว ปูชา                       ปุนปฺปุนกฺริยาทิสุ
      สํ ศัพท์ เป็นไปในอรรถ คือ  สโมธาน การรวมกัน สงฺเขป การย่อ สมนฺตตฺต ความเป็นโดยรอบ สมิทฺธิ ความบริบูรณ์ สมฺมา ความดี ภุส ความยิ่ง สห ความพร้อมกัน อปฺปตฺต ความมีน้อย อภิมุข ต่อหน้า  สงฺคต การประกอบกัน วิธาน การจัดแจง ปภว แดนเกิด ปูชา การบูชา ปุนปฺปุปนกฺริยา การกระทำบ่อยๆ เป็นต้น. (อภิธาน. คาถาที่ ๑๑๗๐)
ดังนี้แล้วจึงแสดงเนื้อความว่า สฃฺฃากรณ ทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย ซึ่งถูกสงเคราะห์เอาด้วยอาทิศัพท์ (ในคำว่า ปุนปฺปุนกฺริยาทิสุ).
            คำว่า สญฺฃา เครื่องกำหนดหมายนี้ มีวจนัตถะดังนี้.
            สฃฺฃายติ เอตายาติ สฃฺฃา, ปจฺฉา สฃฺชานนปจฺจยภูตํ, สฃฺฃานํ.
            บุคคล ย่อมกำหนดหมาย (ซึ่งอารมณ์) ได้ ด้วยธรรมชาตินี้ เหตุนั้น ธรรมชาตินี้ ชื่อว่า สัญญา เครื่องช่วยกำหนดหมาย. ได้แก่ สัญญาณ หรือเครื่องกำหนดหมายที่เป็นปัจจัยแก่การกำหนดหมายได้ ในภายหลัง. การรู้กำหนดหมาย ซึ่งอารมณ์มีเขียวเป็นต้น คือ การรู้โดยทำอารมณ์นั้นนั่นแหละให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย เป็นลักษณะของสัญญานี้ เหตุนั้น สัญญานี้ จึงชื่อว่า มีการรู้ด้วยดีซึ่งอารมณ์มีเขียวเป็นต้นเป็นลักษณะ.
            อนึ่ง คำว่า สฃฺฃานํ นี้ มีวจนัตถะว่า
            สฃฺฃายติ ปจฺฉาภิฃฺฃายติ เอเตนาติ สฃฺฃานํ, ปจฺฉาสฃฺชานนภูตํ กาฬสุตฺตเลขากาฬ-ติลกาทินามปณฺณํ.
            บุคคล ย่อมกำหนดหมายได้ ในภายหลัง ด้วยสิ่งนี้ เหตุนั้น สิ่งนี้ ชื่อว่า สัญญาณ ได้แก่ อุปกรณ์ช่วยให้กำหนดได้ มีรอยขีดเส้นดำ, ไฝดำเป็นต้นและหนังสือจดรายชื่อ (บัญชี).
            คำว่า สฃฺฃานํ นี้ คัมภีร์อัฏฐาลินี ใช้ศัพท์ว่า อภิฃฺฃานํ ซึ่งคัมภีร์อัฏฐสาลินีอัตถโยชนาให้ความหมายว่า อภิฃฺฃาน = ลกฺขณ แปลว่า เครื่องกำหนดหรือเครื่องหมาย เพราะ อภิ อุปสัค ในบทว่า อภิฃฺฃาน นี้มีอรรถ ลกฺขณ กำหนด.
            โดยนัยนี้ คำว่า สัญญา แปลว่า ธรรมชาติที่รู้โดยทำอารมณ์มีสีเขียวเป็นต้นนั้นให้เป็นเครื่องหมายแก่การกำหนดได้ในภายหลัง (กล่าวคือสภาวะที่หมายจำอารมณ์) มาจาก                        สํ สฃฺฃากรณ ทำอารมณ์นั้นให้เป็นเครื่องช่วยกำหนดหมายได้ในภายหลัง + ฃา ธาตุ = รู้ + อ ปัจจัย เป็นกัตตุสาธนะ และ อา อิตถีโชตกปัจจัย. ส่วน สญฺฃา ศัพท์ที่ ๒ เป็นกรณสาธนะ.
            คัมภีร์ปรมัตถทีปนีอธิบายว่า
            สญฺชานาตีติ สญฺญา ปุน ชานนตฺถํ สญฺญาณํ กโรตีติ อตฺโถฯ   อยญฺหิ ปุพฺเพ คหิตสญฺญาเนน สญฺชานนกาเลปิ ปุน ชานนตฺถํ สญฺญาณํ กโรติเยวาติฯ
            ที่เรียกว่า สัญญา เพราะเป็นธรรมชาติหมายรู้ ได้แก่ กระทำเครื่องหมาย เพื่อรู้อีก. อันที่จริง สัญญานี้ ย่อมกระทำเครื่องหมาย เพื่อการรู้ได้อีก แม้ในขณะที่จำ ด้วยเครื่องหมายที่ตนได้กำหนดไว้มาก่อน.
            คัมภีร์อนุทีปนีขยายความตอนนี้ว่า
    สญฺชานาตีติ สุฏฺฐุ ชานาติ. สุฏฺฐุชานนญฺจ นาม วิญฺญาณสฺส วิย วิวิธชานนํ โหติ. ปญฺญาย วิย ยถาภูตชานนํ โหติ. อถโข ภูตํ วา โหตุ, อภูตํ วา. ยํ ยํ หิ วิญฺญาเณหิ วิชานาติ, ปญฺญาย วา ปชานาติ. ตสฺส ตสฺส ปจฺฉา อปฺปมุสฺสกรณเมวาติ วุตฺตํ ปุนชานนตฺถํ สญฺญาณํ กโรตีติ
คำว่า สฃฺชานาติ ได้แก่ สุฏฺฅุ ชานาติ แปลว่า รู้ด้วยดี. ก็การรู้ด้วยดี นี้ จะเป็นการรู้โดยประการต่างๆ เหมือนอย่างวิญญาณ ก็ไม่ใช่, จะเป็นการรู้ตามที่เป็นจริง เหมือนปัญญา ก็ไม่ใช่. โดยที่แท้แล้ว ได้แก่ การกระทำความไม่หลงลืมในภายหลังต่ออารมณ์นั้นๆ ไม่ว่าจะมีจริงหรือไม่มีจริงก็ตาม ซึ่งวิญญาณและปัญญาได้รู้แล้วนั่นเอง ดังนั้น ท่านอาจารย์จึงกล่าวว่า ปุนชานนตฺถํ สฃฺฃาณํ กโรติ ทำเครื่องหมาย  เพื่อการรู้อีก. คำว่า สฃฺฃาน แปลว่า นิมิตฺตกรณ ทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย.
            โดยนัยนี้ คำว่า สฃฺฃา แปลว่า สภาวะที่รู้ด้วยดีคือทำการกำหนดหรือทำเครื่องหมายเพื่อการรู้ได้อีกในภายหลัง โดยมิให้หลงลืมไป. สํ = สุฏฺฐุ ด้วยดี คือ ทำความไม่หลงลืม + ฃาธาตุ รู้
[๒๘] ท่านอาจารย์กล่าวคำเป็นต้นว่า สา หิ จริงอยู่ สัญญานั้น ดังนี้ไว้ โดยหมายเอาคำท้วงที่ว่า เพราะเหตุไร ท่านจึงไม่กล่าวอรรถที่สอดคล้องกับสัญญา แห่ง สํ อุปสัค แต่กล่าวอรรถว่า สฃฺฃากรณ ทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย ดังนี้ไว้เล่า. อีกนัยหนึ่ง หมายเอาความท้วงว่า เมื่อเป็นอย่างนี้ เพราะเหตุไร ท่านอาจารย์ไม่กล่าวอรรถว่า รู้ แห่งสัญญา ศัพท์ แล้วกล่าวอรรถว่า รู้ ซึ่งพิเศษด้วยการกระทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย, อุปสัคที่เป็นธาตวานุวัตตกะ ก็มีมิใช่หรือ? (หมายความว่า ต่อไปนี้เป็นอาคมทัฬหี ข้อความที่ยืนยันข้อความต้นกล่าวคือ สัญญา มีอรรถว่า ทำอารมณ์นั้นให้เป็นเครื่องกำหนดเพื่อการจำได้ในภายหลัง มิได้มีอรรถว่า รู้ เป็นต้น โดยเน้นว่า           สํ อุปสัคเป็นธาตวัตถวิเสสกะ ทำให้อรรถของธาตุถูกใช้ในความหมายที่พิเศษขึ้น).
            เรียบเรียงข้อความใหม่ได้ว่า สัญญานี้ เมื่อเกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น ถือเอาอาการมีสีเขียวสีเหลืองเป็นต้นและสัณฐานมียาวสั้นเป็นต้น อันเป็นเหตุแห่งการจำได้ในภายหลัง เหมือนการที่ช่างไม้ทำเครื่องกำหนดหมายคือขีดเส้นดำ ไว้ที่ท่อนไม้ ซึ่งเป็นปัจจัยแก่การกำหนดหมายได้ในภายหลังว่า นี้บน, นี้ล่าง , เหมือนการที่บุรุษทำเครื่องกำหนดหมายมีไฝดำเป็นต้นอันเป็นเหตุแห่งการกำหนดหมายได้ในภายหลังไว้ที่บุรุษอีกคนหนึ่งว่า คนนี้ คือคนโน้น และเหมือนการที่ขุนคลังผู้รักษาเครื่องประดับของพระราชา ทำเครื่องกำหนดคือบัญชีอันเป็นเหตุแห่งการจำได้ในภายหลังไว้ที่เครื่องประดับของพระราชาว่า ชิ้นนี้ คือชิ้นนั้น (ชิ้นนี้เหมือนชิ้นนั้น) เหตุนั้น ท่านอาจารย์ จึงกล่าวอรรถคือกระทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมาย แห่ง สํ อุปสัค,  หรืออีกนัยหนึ่ง ท่านอาจารย์จึงกล่าวอรรถว่ารู้ ซึ่งพิเศษแล้วด้วยการกระทำให้เป็นเครื่องกำหนดหมายแห่ง คำว่า สัญญา .
[๒๙] อาการ ศัพท์ ในที่นี้มีวจนัตถะว่า
            อากริยติ ปจฺฉาภิฃฺฃายติ เอเตนาติ อากาโร, นีลปีตาทิวณฺณทีฆรสฺสาทิสณฺฅานํ.             ธรรมชาติใด ย่อมกำหนดในภายหลังได้อีก ด้วยธรรมชาตินี้ เหตุนั้น ธรรมชาตินื้ ชื่อว่า อาการ, ได้แก่ สีเขียวสีเหลืองเป็นต้นและทรวดทรงมียาวและสั้นเป็นต้น. (มณิ).
            หรืออีกนัยหนึ่ง
          โย สณฺฅานาทิ อากริยเต ชเนหิ สฃฺฃายเตติ โส สณฺฅานาทิ อากาโร.
            ทรวดทรงเป็นต้นเหล่าใด อันชนทั้งหลายย่อมกำหนดหมาย  เหตุนั้น ทรวดทรงเป็นต้นเหล่านั้น ชื่อว่า เป็นเครื่องอันชนย่อมกำหนดหมาย คือเป็นเครื่องกำหนดหมาย (โยชนา).
[๓๐] ปุจฉาวิสัชชนานี้ มณิ.อธิบายว่า
            ท้วงว่า การกระทำเครื่องหมายอันเป็นเหตุแห่งการกำหนดได้อีก ย่อมควร แก่สัญญาแรก ที่กระทำเครื่องกำหนดอันเป็นเหตุแห่งการกำหนดได้ในภายหลังก่อน, แต่ข้อความนี้ จะควรแก่สัญญาที่ ๒ ต่อไป ที่กำลังกำหนดได้ตามนิมิตมีอารมณ์มีสีเขียวเป็นต้น ได้อย่างไร ,เพราะเหตุนี้  วจนัตถะ ที่ท่านกล่าวมา จึงไม่เป็นสาธารณะ แก่สัญญาทั้งปวง หรืออีกนัยหนี่ง สัญญาทั้งปวงมิได้เป็นการกระทำเครื่องกำหนดอันเป็นเหตุแห่งการจำได้ในภายหลังอีก.
            ตอบ สัญญา แรกเท่านั้น  ซึ่งเป็นสภาวะกระทำเครื่องหมาย ย่อมเกิดขึ้นถือเอาอาการ อันเป็นเหตุแห่งการจำได้ในภายหลัง แห่งสัญญาต่อมาอีก อย่างเดียวก็หามิได้, โดยที่แท้ แม้สัญญาหลังๆนั้น ที่กำลังจำตามนิมิต ก็ชื่อว่า ย่อมเกิดขึ้นถือเอาอาการอันเป็นเหตุแห่งการกำหนดได้ในภายหลังอีกเช่นนั้น เพราะฉะนั้น ความไม่ถูกต้องไรๆ แห่งการทำเครื่องหมายอันเป็นเหตุแห่งการจำได้ในภายหลัง ย่อมไม่มี ในสัญญาที่กำลังจำตามนิมิต ดังนั้น วจนัตถะดังว่ามานี้ จึงสาธารณะแก่สัญญาทั้งปวงคือสัญญาที่เกิดขึ้นก่อนและสัญญาต่อมาที่กำลังจำได้โดยนิมิตนั้น, หรือการกระทำอาการมีเขียวเป็นต้นให้เป็นเหตุแห่งการจำได้อีก ย่อมเป็นสาธารณะแก่สัญญาทั้งปวง.
            อนึ่ง ในเรื่องนี้ ในกาลที่สัญญาอันวิปยุตด้วยญาณ เกิดขึ้นด้วยอำนาจถือเอาอาการมีสัณฐานเป็นต้น จิต ย่อมคล้อยตามสัญญา เป็นอัพโพหาริก (อัพโพหาริก คือ สักแต่ว่ามีอยู่ แต่ไม่สามารถนำมากล่าวให้เห็นสภาวะชัดเจน), ส่วนในจิตที่สัมปยุตกับญาณ สัญญาและจิต ย่อมคล้อยตามญาณ เป็นอัพโพหาริก เหมือนในรูปมีสสัมภารปถวีเป็นต้น  ธาตุที่เหลือ ก็เป็นไปตามปถวีเป็นต้น เป็นอัพโพหาริก ฉะนั้น, เพราะฉะนั้น (ในญาณสัมปยุตจิตนี้) สัญญานั้น จะชื่อว่า เป็นสภาวะสร้างความถือผิด เหมือนอย่างคนตาบอดแสดงช้าง ก็หามิได้, และจะเป็นสภาวะถือเอาผิดๆ เหมือนอย่างลูกเนื้อ สำคัญผิดในหุ่นไล่กา ก็หามิได้ ฉะนั้น. ในจิตตุปบาท ที่มีญาณเป็นประธานนี้ สัญญาย่อมเป็นไปตามญาณ ฉันใด, ในจิตตุปบาทที่มีสมาธิเป็นประธาน สัญญา ย่อมเป็นไปตามสมาธิ ฉันนั้น.
            ข้อความนี้อธิบายโดยนัยที่มาในฏีกาอภิธัมมาวตารว่า
            เอเตน สญฺฃาย อาการคฺคหณํ กตฺวา ฅิตสฺส ทิฏฺฅิอาทีนํ อุปฺปชฺชนโต อกุสลสญฺฃาย อนุรูปวเสน ผลปจฺจุปฏฺฅานํ ทสฺสิตํ โหติฯ
            อถวา อภินิเวสกรณนฺติ ‘‘อิทเมว สจฺจ’’นฺติ สญฺฃาภินิเวสมตฺตเมว, ตสฺมา อุปปริกฺขา-            ภาเวน ยถาคหิตนิมิตฺตวเสน อภินิเวสากาเรน อุปฏฺฅานโต อาการปจฺจุปฏฺฅานํ วุตฺตํฯ
            ด้วยคำว่า ยถาคหิตนิมิตฺตวเสน อภินิเวสกรณปจฺจุปฏฺฐานา  มีการสร้างความยึดถือด้วยอำนาจแห่งนิมิตตามที่ตนรับมาเป็นปัจจุปัฏฐาน นี้ ท่านอาจารย์แสดงปัจจุปัฏฐานคือผล ด้วยอำนาจแห่งผลอันเหมาะสมแห่งสัญญาในอกุสลจิต เพราะทิฏฐิเป็นต้นเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ยึดถืออาการ (คือสัณฐานเป็นต้น) ด้วยสัญญาดำรงอยู่ (ยังไม่คลายความยึดถือไป).
            อีกนัยหนึ่ง คำว่า อภินิเวสกรณํ มีการกระทำความยึดถือเป็นปัจจุปัฏฐาน นี้ หมายถึง เป็นเพียงความถือมั่นแห่งสัญญาว่า นี้เท่านั้นจริง เพราะเหตุนั้น เป็นอันกล่าวปัจจุปัฏฐานคืออาการปรากฏ เพราะปรากฏโดยอาการที่ยึดถือโดยเนื่องด้วยนิมิตตามที่ตนรับเอามา โดยไม่มีการใคร่ครวญพิจารณา.
            คัมภีร์ปรมัตถทีปนีอธิบายเพิ่มว่า
            อกุศลมีทิฏฐิเป็นต้นนี้ เป็นผลของสัญญา เพราะสัญญาเมื่อเกิดขึ้นบ่อยๆอย่างนี้ ย่อมทำให้สัตว์ทั้งหลายไม่หลงลืม และเมื่อบรรลุถึงความเป็นสัญญาที่ยึดมั่นผิด ทำให้สัตว์เหล่านี้กลายเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่อาจโปรดให้รู้แจ้งได้
            (แต่ถ้าเป็นสัญญาที่เกิดในญาณสัมปยุตจิต สัญญาเป็นอัพโพหาริก คือ ไม่อาจกล่าวว่าสัญญามีการถือเอาผิดเป็นผลได้อย่างสมบูรณ์ เพราะเป็นสัญญาที่คล้อยตามปัญญา จึงไม่เป็นเหตุแห่งอกุศลมีทิฏฐิเป็นต้น หรือไม่สามารถกล่าวได้ว่า ความสำคัญผิดโดยถือเอาอาการมีสัณฐานเป็นต้นแห่งสัญญา เป็นอาการปรากฏ. แต่ถ้าในญาณวิปยุตจิต สามารถใช้วจนัตถะนี้ได้โดยสมบูรณ์. - สมภพ)
[๓๑]คำว่า จัดการ [จัดแจง]ในที่นี้แปลตามที่มณิ.อธิบายว่า
            อภิสนฺทหตีติ ปพนฺธติ ปวตฺเตติ คณฺหถ คณฺหถาติ วทนฺตี วิย สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมเณ โยเชติ, สกสกกิจฺเจ จ สณฺฅเปตีติ อตฺโถ.
            คำว่า อภิสนฺทหติ คือว่า ย่อมติดตาม (กระตุ้น) คือ ให้เป็นไป หมายถึง ให้สัมปยุตธรรมขวนขวายในอารมณ์ และให้ดำรงอยู่ในกิจของตนๆ เหมือนกับจะกล่าวว่า พวกเธอจงรับอารมณ์.  
[๓๒] พฺยาปาร ความหมายเท่ากับ อุสฺสาห แปลว่า ความพยายาม มาจาก วิ + อา + ปร คติ ไป, ถึง, เป็นไป กรณีที่มี วิ และ อา เป็นบทหน้า เป็นไป ในอรรถว่า ปริสฺสม พยายามอย่างยากเย็น + ณ.
[๓๓] เจตนา มาจาก จิต ธาตุ (จุราทิคณธาตุ) ในอรรถว่า จัดแจง + ยุ ปัจจัย ในกัตตุสาธนะ.  ส่วนในคัมภีร์ปรมัตถทีปนีแสดงว่า จิต ธาตุ ในคำว่า เจตนา นี้มีอรรถ ๓ อย่าง คือ
            ๑. อภิสนฺทหน สืบต่อ (คือให้สัมปยุตธรรมเป็นไปต่อเนื่องในอารมณ์หรือกิจเหล่านั้น)
            ๒. อายูหน ประมวล (คือประมวลสัมปยุตธรรมเข้าไว้อารมณ์ หรือทำให้ประชุมร่วมกัน)
            ๓. ปกปฺปน ปรุงแต่ง (คือปรุงแต่งสัมปยุตธรรมให้รับอารมณ์ หรือ ปรุงแต่งผลแห่งกรรม)
            อนึ่ง ด้วยวจนัตถะทั้งสองนี้ คัมภีร์โยชนาอธิบายว่า เจตนา มีความหมาย ๒ นัย คือ
            ๑)เป็นสภาวะที่ทำให้สัมปยุตธรรมประกอบอยู่ในอารมณ์และตั้งอยู่ในกิจของตน หมายถึง เจตนาที่เป็นไปในภูมิ ๔ ทั้งหมด. นัยนี้ เจตนา แปลว่า สภาวะที่จัดการ ที่เป็นไปในความหมายว่า จัดการให้สัมปยุตธรรมตั้งอยู่ในอารมณ์ ดังที่ท่านยกอุปมาด้วยหัวหน้าศิษย์เป็นต้นไว้นั้น.
            ๒) เป็นสภาวะที่ถึงความขวนขวายหรืออุตสาหะในการปรุงแต่งวิบากและรูปที่ตนปรุงแต่งขึ้นโดยความเป็นกรรมปัจจัยเป็นต้น หมายถึง เจตนาในกุศลจิตและอกุศลจิต. นัยนี้ เจตนา แปลว่า สภาวะที่ปรุงแต่ง คือ ปรุงแต่งวิบากเป็นต้น ดังที่ท่านสาธกพระบาฬีวิภังค์ขึ้นแสดง.
            อนึ่ง ในกรณีนี้ เจตนา ได้แก่ สภาวะที่เรียกว่า กรรม ดังที่ในคัมภีร์สัททนีติ ธาตุมาลา(แปล หน้า ๗๙๑) อธิบายว่า
            ศัพท์ที่ ชื่อของเจตนา มีดังนี้คือ
            สญฺเจตนา เจตยิตํ                 เจตนา กมฺมเมว จ
          กมฺมญฺหิ เจตนาเตฺวว            ชิเนนาหจฺจ ภาสิตํ
          สญฺเจตนา, เจตยิตํ , เจตนา คือ กมฺม นั่นแหละ แท้จริงแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเจตนานั่นเทียวว่า เป็นกรรม
            ในข้อนั้น มีพระบาฬีเป็นตัวอย่างว่า เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ, เจตยิตฺวา กมฺมํ  กโรติ กาเยน วาจาย มนสา ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่า เป็นกรรม, บุคคลขวนขวายแล้ว ย่อมทำกรรมทางกาย วาจา และใจ.
[๓๔] พระบาฬีที่ท่านยกมาต้องแยกเป็น ๒ แห่ง คือ นิทเทสว่า จกฺขุสมฺผสฺสชา เจตนา เป็นต้นเท่านั้น มาในวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ (๓๖/๖๔). และที่เป็นคำจำกัดความว่า สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ สงฺขารา สังขาร คือ สภาวะปรุงแต่งสังขตธรรม มาในสังยุตนิกาย   ขันธสังยุต (๑๗/๑๕๙).
[๓๕] มณิ. ให้ความหมายว่า ไม่ทรงแสดงธรรมเหล่าอื่นมีผัสสะเป็นต้น ดังนี้ว่า ธรรมชาติปรุงแต่งสังขตธรรม กล่าวคือ วิบากนามขันธ์และกรรมชรูปเป็นต้น ชื่อว่า สังขารขันธ์.  แต่ทรงแสดงเฉพาะเจตนาเท่านั้น เนื่องจากเป็นประธานในการปรุงแต่งสังขตธรรม.
[๓๖] ในที่นี้คำว่า มีการจัดการเป็นลักษณะแปลตามนัยของมณิ. ที่อธิบายว่า
            เจตยิตลกฺขณาติ อภิสนฺทหนลกฺขณา. สมฺปยุตฺตธมฺมานํ อารมฺมเณ โยชนลกฺขณา,            สกสกกิจฺเจ จ ปฏฺฅปนลกฺขณา. กสฺมาติ อาห เชฏฺฅสิสฺเสจฺจาทิ. 
            ข้อที่ว่า มีการจัดการเป็นลักษณะ คือ มีการสืบต่อเป็นลักษณะ. ได้แก่ มีการให้สัมปยุตธรรมประกอบอยู่ในอารมณ์และให้ตั้งอยู่ในกิจของตนๆเป็นลักษณะ. ดังที่ท่านจะกล่าวอุปมาว่า เปรียบได้กับหัวหน้าศิษย์เป็นต้น.
            ส่วนในคัมภีร์อัตถโยชนาแนะให้แปลได้ถึง ๓ อรรถว่า มีความเป็นไปโดยอาการที่จัดแจง,อุตสาหะหรือประกอบ ดังนี้ ว่า
            สา เจตนา เจตยิตลกฺขณา,  เจตโส อุสฺสาหภาวลกฺขณา โยชนลกฺขณา วา. เจตยิเต           อุสฺสาหิยเต โยชิยเต วา เจตํ, เจเตน อยิตํ ปวตฺตํ เจตยิตํ,  เจตยิตํ ลกฺขณํ  สภาโว อสฺสาติ                เจตยิตลกฺขณา. 
            เจตนานั้น มีความจัดแจง, มีภาวะที่อุตสาหะแห่งจิต หรือประกอบเป็นลักษณะ. ที่เรียกว่า เจต แปลว่า จัดแจง, อุตสาหะ หรือ ขวนขวาย, ความเป็นไปโดยอาการดังกล่าว ชื่อว่า เจตยิต, ความเป็นไปโดยลักษณะดังกล่าว เป็นสภาวะของเจตนานี้เทียว.
[๓๗] ในคัมภีร์วิภาวินีนี้แสดงว่า มีการจัดแจงเป็นกิจ ส่วนในอรรถกถาอภิธรรม (อัฏฐสาลินี) แสดงว่า เจตนามีการจัดแจงเป็นลักษณะ (เจตยิตลกฺขณา) มีการประมวลมาเป็นกิจ (อายูหนรสา) ,มีการจัดการเป็นอาการปรากฏ (สํวิทหนปจฺจุปฏฺฅาน). (ในอภิธัมมัตถสังคหทีปนีฏีกาว่า           มีนามรูปเป็นปทัฏฐาน นามรูปปทฏฺฅาน) ดังนี้
            สภาวที่จัดแจง ชื่อว่า เจตนา, หมายความว่า สืบต่อธรรมที่สัมปยุตกับตนไว้ในอารมณ์. เจตนานี้ มีการจัดแจงเป็นลักษณะ (เจตยิตลกฺขณา) หมายความว่า มีการขวนขวาย (ในกิจของตน) เป็นลักษณะ.  มีการประมวลมาเป็นกิจ (อายูหนรสา). แท้ที่จริง เจตนา ซึ่งเป็นไปในภูมิ ๔ ซึ่งจะได้ชื่อว่า ไม่มีการจัดแจงเป็นลักษณะนั้น ไม่มีหรอก. ย่อมมีการจัดแจงเป็นลักษณะทั้งนั้นทีเดียว. แต่ภาวะที่มีการประมวลมาเป็นกิจ มีได้เฉพาะในกุศลและอกุศลเท่านั้น. เนื่องจากว่า การที่เข้าถึงฐานะคือประมวล(กระทำ)อกุศลกรรมและกุศลกรรม ย่อมเป็นกิจเพียงส่วนหนึ่งแห่งสัมปยุตธรรมที่เหลือเท่านั้น, ส่วนเจตนา มีความอุตสาหะยิ่ง มีความพยายามยิ่ง มีความอุตสาหะเป็นทวีคูณ, มีความพยายามเป็นทวีคูณ. ดังที่โบราณาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า เจตนานี่แหละ ตั้งอยู่โดยสภาพของเจ้าของนา ก็เจ้าของนา ท่านเรียกว่า ถาวริยะ (คือ ถาวริยะ ตรงกับคำว่า เขตฺตสามิ แปลว่า เจ้าของนา) เปรียบเหมือนว่า บุรุษเจ้าของนา พาชายฉกรรจ์ ๕๕ คนคิดว่า เราจักเกี่ยวข้าว จึงลงไปสู่นาพร้อมกัน. บุรุษเจ้าของนามีความอุตสาหะมาก มีความเพียรมาก มีความอุตสาหะทวีคูณ, มีความเพียรทวีคูณ (ข้อนี้หมายถึง ท่านแสดงให้เห็นว่า กิจคือความพยายามของเจตนามีมากมาย มิได้จะแสดงว่า การประกอบความพยายามมีเป็นสองเท่า - มูลฏีกา), เขาจะคอยกล่าวคำเป็นต้นว่า จงถือไว้ เรื่อยๆ, บอกเขต,จัดแจงข้าวของเลี้ยงแขกมีสุรา ข้าว ดอกไม้ ของหอมเป็นต้น สำหรับชายฉกรรจ์เหล่านั้น, ทำหนทางให้เรียบ ฉันใด, ก็พึงทราบอุปเมยยะอย่างนี้. เจตนา เหมือนกับบุรุษเจ้าของนา, กุศลธรรม ๕๕ ที่เกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของจิต เปรียบได้กับชายฉกรรจ์ ๕๕, การที่เจตนาถึงฐานะคือประมวลกุศลและอกุศลกรรมแล้วมีความอุตสาหะเป็นทวีคูณ มีความพยายามเป็นทวีคูณ เหมือนเวลาที่บุรุษเจ้าของนากระทำความเพียรเป็นทวีคูณ ความอุตสาหะเป็นทวีคูณ. เจตนามีการประมวลมาเป็นกิจ พึงทราบอย่างนี้.
            เจตนานั้น มีการจัดการ (เอาใจใส่) เป็นอาการปรากฏ. จริงอยู่ เจตนานี้ เมื่อจัดการ ย่อมปรากฏ, เป็นสภาวะทำกิจตนและผู้อื่นให้สำเร็จ ดังหัวหน้าศิษย์และช่างใหญ่เป็นต้น ที่กระทำกิจตนและกิจผู้อื่นให้สำเร็จอยู่ ฉะนั้น. เปรียบเหมือนหัวหน้าศิษย์ พอเห็นอุปัชฌาย์เดินมาแต่ไกลนั่นเทียว ตนเองเมื่อจะสาธยาย ก็พลอยยังศิษย์ผู้น้อยนอกนี้ให้ประพฤติไปในการสาธยายของตนๆ คือ เมื่อหัวหน้าศิษย์นั้น เริ่มสาธยายแล้ว ศิษย์แม้เหล่านั้น ก็ย่อมสาธยายด้วย เพราะความเป็นผู้ประพฤติตามหัวหน้าศิษย์นั้น. อนึ่ง เหมือนอย่างนายช่างใหญ่ เมื่อลงมือไส ก็พลอยยังช่างไม้นอกนี้ให้ประพฤติในการงานคือการไสของตนๆ . จริงอย่างนั้น เมื่อนายช่างลงมือไสไม้เอง ช่างไม้นอกนี้ ก็ย่อมไสไม้ เพราะความเป็นผู้ประพฤติตามนายช่างนั้น. และแม่ทัพ เมื่อรบเอง แม้ทหาร ก็เป็นไปในกิริยาคือการรบพร้อมกัน, เนื่องจากว่า เมื่อแม่ทัพเอง เริ่มรบ แม้พวกทหาร ซึ่งประพฤติตาม ก็รบ เพราะเป็นไปตามแม่ทัพนั้น ฉันใด, แม้เจตนานี้ เมื่อเป็นไปในอารมณ์ โดยกิจของตน ก็จะทำให้สัมปยุตธรรมแม้อื่น เป็นไปในกิจของตน, เนื่องจากเจตนาเมื่อปรารภกิจของตน แม้สัมปยุตธรรมเหล่านั้น ก็ปรารภกิจของตน. เพราะฉะนี้แหละ ท่านจึงอธิบายว่า ทำกิจตนและกิจผู้อื่นให้สำเร็จ ดังนายช่างและหัวหน้าศิษย์. เจตนานี้ พึงทราบว่า  ย่อมเป็นไปปรากฏโดยภาวะที่ทำให้สัมปยุตธรรมอุตสาหะ (อุตสาหะในที่นี้ คือ เอื้อเฟื้อเอาใจใส่. เจตนานั้น ตนเองเป็นสภาวะเอาใจใส่ ก็จะให้สัมปยุตธรรมเอาใจใส่ด้วย - มูลฏีกา) ในการคำนึงถึงการงานที่เร่งรีบเป็นต้น.
          ในฎีกาอภิธัมมาวตารกล่าวถึงลักขณาทิจตุกกะของเจตนาดังนี้
            อภิสนฺทหตีติ ปพนฺธติ ปวตฺเตติ, ‘‘คณฺหถ คณฺหถา’’ติ วทนฺตี วิย สมฺปยุตฺตธมฺเม                อารมฺมเณ ปโยเชติ, สกสกกิจฺเจ ปฏฺฐเปตีติ อตฺโถฯ
คำว่า อภิสนฺทหติ มีความหมายว่า สืบต่อ คือ ให้เป็นไป หมายความว่า ประกอบสัมปยุตธรรมไว้ในอารมณ์ เหมือนกับจะกล่าวว่า เจ้าจงรับอารมณ์ๆ และให้ตั้งอยู่ในกิจของตนๆ.
เจตยิตลกฺขณาติ นิทฺโทกฺกนฺตสฺส ปพุทฺธกฺขเณ สมฺภมปฺปวตฺติ วิย เจตโส อุสฺสาหตาว ลกฺขณาฯ
คำว่า เจตยิตลกฺขณา มีความหมายว่า ความอุตสาหะแห่งจิตนั่นเทียว เป็นลักษณะ เหมือนกับความเป็นไปงัวเงียในขณะที่บุคคลผู้นอนหลับตื่นขึ้น.
            อถ วา ‘‘อภิสนฺทหตี’’ติ วุตฺตตฺตา ปโยชนลกฺขณาเตฺวว อตฺโถฯ
อีกนัยหนึ่ง (คำว่า เจตยิตลกฺขณา) หมายความว่า มีความประกอบไว้เป็นลักษณะนั่นแหละ เพราะท่านได้กล่าวว่า อภิสนฺทหติ สืบต่อ ไว้
            อายูหนรสาติ เจตสิกอิริยนรสา, ปโยครสาติ วุตฺตํ โหติฯ กุสลากุสลกิริยาชวน-               สมฺปยุตฺตายเยว ปเนตํ ลพฺภติฯ
คำว่า อายูหนรสา หมายความว่า มีความเป็นไปแห่งเจตสิกเป็นรส. ประสงค์ความว่า มีปโยคะ (ตั้งใจ) เป็นรส. อนึ่ง เฉพาะเจตนาที่สัมปยุตกับกุศล,อกุศลและกิริยาชวนะเท่านั้นที่ได้รสนี้.
สํวิทหนปจฺจุปฏฺฐานาติ ‘‘ตฺวํ อิทํ กโรหี’’ติ วิจาเรนฺตี วิย โหตีติ วิจารณปจฺจุปฏฺฐานาฯ            เอตาย หิ ปวตฺตมานาย สพฺเพปิ สมฺปยุตฺตธมฺมา  ยถาสกิจฺจปสุตา โหนฺติ, เตเนว เหสา                    สกิจฺจปรกิจฺจสาธิกา วุตฺตาฯ
คำว่า สํวิทหนปจฺจุปฏฺฐานา มีการจัดแจงเป็นปัจจุปัฏฐาน หมายความว่า ย่อมเป็นสภาพดุจเอาใจใส่อยู่ว่า ท่านจงทำกิจนี้ ดังนั้น จึงมีการเอาใจใส่เป็นปัจจุปัฏฐาน. อันที่จริง เมื่อเจตนาเป็นไป แม้สัมปยุตธรรมทั้งปวง ย่อมเป็นสภาพขวนขวายตามกิจของตน, ก็เพราะเหตุนี้นั่นเอง เจตนานี้ ท่านจึงกล่าวว่า สกิจฺจปรกิจฺจสาธิกา มีการทำให้กิจของตนและของผู้อื่นสำเร็จ.
เชฏฺฐสิสฺโส ปเร สชฺฌายเน อุยฺโยเชนฺโต สยมฺปิ สชฺฌายติฯ ตสฺมิญฺหิ สชฺฌายิตุ อารทฺเธ เสสสิสฺสาปิ สชฺฌายนฺติฯ  มหาวฑฺฒกิสฺมิมฺปิ วฑฺฒกิกมฺมํ กาตุ อารทฺเธ อิตเรปิ กโรนฺติเยวาติ อาห ‘‘เชฏฺฐสิสฺสมหาวฑฺฒกิอาทโย วิยา’’ติฯ อาทิ-สทฺเทน เชฏฺฐนฺเตวาสิกาทีนํ คหณํ.
ส่วนศิษย์เอก เมื่อชักชวนศิษย์ผู้อื่นให้สวดสาธยาย แม้ตนเอง ก็ย่อมสาธยายเอง. และเมื่อเขาเริ่มสาธยาย แม้ศิษย์ที่เหลือก็ย่อมสาธยาย. แม้นายช่างใหญ่เริ่มงานช่างไม้ แม้นายช่างที่เหลือก็กระทำนั่นเทียว ดังนั้น ท่านอาจารย์พุทธทัตตมหาเถระ จึงกล่าวว่า เหมือนอย่างศิษย์เอกและนายช่างใหญ่ ฉะนั้น. ด้วยอาทิศัพท์ รวมถึงหัวหน้าอันเตวาสิกเป็นต้น.
[๓๘] การแสดงลักษณะ แปลโดยอธิปปายัตถะที่มาในมณิ. ซึ่งท่านแก้ศัพท์นี้เป็น สลกฺขณปกาสน. มีคำแปลโดยสัททัตถะว่า การแสดงธรรมชาติเครื่องประกาศแห่งตน ตามรูปวิเคราะห์ดังนี้
            เอกคฺคตาทโย รุปฺปนฺติ ปกาสิยนฺติ เอเตหีติ รูปานิ,  สสฺส อตฺตโน รูปานิ สรูปานิ.            อวิกฺเขปาภิโรปนานุมชฺชนสมฺปิยายนสงฺขาตานิ สลกฺขณานิ. เตสํ วิภาวนํ โส อวิกฺเขปลกฺขโณติ-อาทินา ปกาสนํ สรูปวิภาวนํ.
            เจตสิกมีเอกัคคตาเป็นต้น อันอาจารย์ (รุปฺปนฺติ = ปกาสิยนฺติ) ย่อมประกาศ ด้วยธรรมชาติเหล่านี้ เพราะเหตุนั้น ธรรมชาติเหล่านี้ ชื่อว่า รูปะ (ธรรมชาติที่ถูกอาจารย์ใช้เป็นเครื่องประกาศ).  รูปะทั้งหลาย (สสฺส = อตฺตโน) ของตน ชื่อว่า สรูปะ [ธรรมชาติที่ถูกอาจารย์ใช้ประกาศอันเป็นของตน],   ได้แก่ ลักษณะของตน กล่าวคือความไม่ซัดส่าย ความยกขึ้นสู่อารมณ์ การตามเคล้าคลึงอารมณ์ ความเอิบอิ่ม. (วิภาวนํ = ปกาสนํ) การประกาศ (แสดง) ซึ่งรูปะเหล่านั้น โดยนัยเป็นต้นว่า สมาธินั้น มีการไม่ซัดส่ายเป็นลักษณะ ชื่อว่า การแสดงธรรมชาติเป็นเครื่องใช้ประกาศ.
            ในคัมภีร์อัตถโยชนามีรูปวิเคราะห์เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะว่า
            ยํ ธมฺมชาตํ มยา รูปิยติ ปกาสิยตีติ ตํ ธมฺมชาตํ รูปํ, วจนตฺถลกฺขณรสํ.
            ธรรมชาติใด อันเรา (รูปิยติ = ปกาสิยติ) ย่อมประกาศ เหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า รูปะ. (ธรรมชาติเป็นที่อันข้าพเจ้าประกาศ). ได้แก่ วจนัตถะ ลักษณะและรส.
            สํวิชฺชมานํ รูปํ สรูปํ.
            ธรรมชาติที่ถูกแสดง อันมีอยู่โดยปรมัตถ์ ชื่อว่า สรูปะ.
            สรูป มาจาก รูป ธาตุ ในอรรถว่า ปกาสน ประกาศ +  อ ปัจจัยในกัมมสาธนะ. ส่วนในมณิให้ลงในกรณสาธนะ. แต่ในสัททนีติ ว่า ในอรรถว่า รูปกฺริยายํ กระทำการแสดง, ประกาศ.
            อนึ่ง ปกาสน มาจาก กาสุ ในความหมายว่า ทิตฺติ รุ่งเรือง ปรากฏ เป็นอกัมมธาตุ และมีอรรถการิตะ (โดยลงการิตปัจจัยแล้วลบเสียคงเหลือแต่อรรถ) ดังนั้น จึงมีความหมายว่า ถูกทำให้ปรากฏ.  คำว่า ปกาสิยติ นี้แปลโดยสัททัตถนัยว่า ธรรมชาติมีวจนัตถะเป็นต้น ถูกทำให้ปรากฏ
            ดังนั้น สรูป ศัพท์ โดยสัททัตถะ แปลว่า ธรรมชาติของตนที่อาจารย์ทำให้ปรากฏ หรือธรรมชาติที่ถูกทำให้ปรากฏ ซึ่งมีอยู่โดยปรมัตถ์ ได้แก่ วจนัตถะ ลักษณะ รส. โดยโวหารัตถะ แปลว่า คุณสมบัติเฉพาะตัว (อัตตลักษณ์). โดยอธิปปายัตถะ แปลว่า ลักษณะของตน เพราะในคัมภีร์วิภาวินีนี้ เน้นเฉพาะลักษณะเท่านั้น ไม่ได้แสดงรส ปัจจุปัฏฐานและปทัฏฐาน. 
[๓๙] โยชนาว่า สมฺปยุตฺตธมฺม ในที่นี้ได้แก่ เจตสิก เพราะเจตสิกเป็นประธานในที่นี้ ดังนั้น ด้วยบทว่า สมฺปยุตฺตธมฺม นี้จึงเป็นอันปฏิเสธรูปชีวิตินทรีย์.
[๔๐] ที่ไข ชีวนฺติ เป็น ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป โดยนัยที่มาใน มณิ. ว่า ปวตฺตนฺติ ติฏฺฐนฺติ เป็นไป คือ ดำรงอยู่.  โดยพ้องกับพระบาฬีว่า โย เตสํ อรูปีนํ ธมฺมานํ อายุ ฐิติ สณฺฐิติ แปลว่า อายุ ความดำรงอยู่ ความดำรงอยู่พร้อม แห่งอรูปธรรมเหล่านั้น อันใด. 
[๔๑]โยชนาอธิบายว่า ชีวิต คือ ธรรมชาติเป็นเหตุให้สัมปยุตธรรมเป็นไป สำเร็จรูปจาก ชีว ธาตุ ในความเป็นไป + ต ปัจจัยในอรรถกรณะ ด้วย ต โยควิภาค ในสูตรว่า ภาวกมฺเมสุ ต). มีวจนัตถะดังที่ท่านให้ไว้นั้น.
[๔๒] คำว่า อินฺทฺริย  มณิ. อธิบายว่า
            อินฺทฏฺฅํ กาเรติ มมนฺตเรน ตุมฺหากํ ชีวนํ นตฺถิ มยา ชีวตาติ วิย อติตานํ อนุวตฺเตติ              สมฺปยุตฺตธมฺเมติ อินฺทฺริยํ
            ธรรมชาติใด ยังสัมปยุตธรรม ให้กระทำอยู่ ซึ่งความเป็นใหญ่ คือ ย่อมให้ไปตาม อตฺตานํ ซึ่งตน เหมือนกับจะกล่าว ดังนี้ว่า ความเป็นไปอยู่ ของพวกท่าน เว้นเรา  ย่อมไม่มี, ความเป็นอยู่ ย่อมมี เพราะเรา เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า อินทรีย์.
            ในโยชนา อธิบายว่า สำเร็จจาก อินฺท (อินฺท = อิทิ ธาตุ ในอรรถว่า ปรมิสฺสริย เป็นใหญ่ยิ่ง + อ ปัจจัย)+ ณิย ภาวตัทธิต ดังนี้
            อธิปจฺจสงฺขาเตน อินฺทฺริยตฺเถน อินฺทฺริยํ ชีวิตํ ตทฺธิตวิคฺคโห. ณฺยตฺตตา ภาเว ตูติ ตุสทฺเทน ณิโย, โท ธสฺส จาติ จสทฺเทน ทสฺส โทฺร.
            อินทฺริยศัพท์นี้ เป็นวิคคหะในตัทธิต.   ลงณิย ปัจจัย ด้วยตุศัพท์ ในสูตรว่า ณฺยตฺตตา ภาเว ตุ, อาเทสว่า โทฺร แห่งอาเทสีว่า ท ด้วย จ ศัพท์ ในสูตรว่า โท ธสฺส จ.
            หมายความว่า ลง ณิย ปัจจัยในภาวตัทธิต ท้าย อินฺท ศัพท์ ในอรรถว่า อิสฺสริย ความเป็นใหญ่  และ ทฺร มี ท เป็น อาเทส.
            นอกจากนี้ สัททนีติ สุตตมาลา สูตรที่ ๗๖๓ ระบุว่า การแปลง ท เป็น ทฺร นี้ใช้เฉพาะอินทรีย์ ๒๒ มีจักษุเป็นต้นเท่านั้น มิได้หมายถึง พระอินทร์หรือท้าวสักกะ. และอธิบายว่า อินฺทฺริย ศัพท์ ที่มาจาก อินฺท + ณิย ปัจจัย มีอรรถหลายประการ คือ
            ลิงฺค แสดงให้รู้, สิทฺธ สิ่งที่ให้สำเร็จ, เทสิต สิ่งที่ถูกแสดง, ทิฏฺฐ ถูกเห็น, ชุฏฺฅ การเสพ, อิสฺสริย ความเป็นใหญ่
            ก็ในคำว่า อินฺทฺริย นี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรียกว่า อินฺท ในฐานะที่ทรงเป็นผู้ใหญ่ยิ่ง, และหมายถึง กุศลและอกุศลกรรม ในฐานะที่เป็นธรรมชาติที่ไม่มีอะไรยิ่งใหญ่กว่าและเหนือกว่า. เพราะเหตุนั้น
            ปสาทรู้มีจักษุเป็นต้นที่เกิดจากกรรม ย่อมแสดงกุศลกรรมและอกุศลกรรมที่เรียกว่า อินฺท นี้ (อรรถลิงฺค ประกาศ), และปสาทรูปมีจักษุเป็นต้น ก็สำเร็จด้วยกรรมนั้น (อรรถสิทฺธ ให้สำเร็จ)เพราะเหตุนั้น ปสาทรูปเหล่านั้น ชื่อว่า อินฺทฺริย
            อินทรีย์ ๒๒ นั้นนั่นเทียว ชื่อว่า อินฺทฺริย เพราะเป็นสภาวธรรมที่พระผู้มีพระภาคผู้ทรงสมัญญาว่า องค์อินทร์ ได้ทรงแสดงไว้ตามความเป็นจริง. (อรรถ เทสิต แสดง)
            หมายถึง สิ่งที่พระผู้มีพระภาคผู้ทรงสมัญญาว่าองค์อินทร์เห็นแล้ว. (อรรถทิฏฐเห็นแล้ว)
            หมายถึง อินทรีย์บางอย่างอันพระผู้มีพระภาคผู้ทรงสมัญญาว่า องค์อินทร์สร้องเสพแล้ว ด้วยการเสพเป็นอารมณ์ และสร้องเสพแล้ว ด้วยการเสพโดยการอบรม (อรรถ ชุฏฺฅ สร้องเสพ)
            หมายถึง ความเป็นใหญ่กล่าวคืออำนาจ (อรรถอิสฺสริย ความเป็นใหญ่)
            อีกนัยหนึ่ง หมายถึง สิ่งควบคุม (หรือครอบงำ เช่น สัทธินทรีย์ เป็นต้นครอบงำหรือควบคุมความไม่เลื่อมใสเป็นต้น -สมภพ ).
[๔๓] อธิปจฺจโยค (สี. และ ฉัฏฐ. เป็นอาธิปจฺจโยค ในโยชนาระบุว่า วุทฺธิ อนิจฺโจ การวุทธิมีไม่แน่นอน ดังนั้น จึงเป็นนานาปาฐะ) .
            ด้วยคำว่า อธิปจฺจโยเคน นี้ แสดงว่า อินฺทฺริย ศัพท์ซึ่งมีอรรถหลายอย่าง ดังกล่าวมาข้างต้น มีอรรถว่า อธิปจฺจ หรือ อิสฺสริย เป็นใหญ่.
            อีกนัยหนึ่ง อรรถกถาอภิธรรม (เล่ม ๑ /๑๖๘-๑๗๓ ฉบับมหาจุฬา) อธิบายความเป็นอินทรีย์ของธรรมต่างๆ ไว้ ๒ คือ
            ก. ครอบงำ เช่น สทฺธาว อสฺสทฺธิยสฺส อภิภวนโต อธิปติยฏฺเฅน อินฺทฺริยํ.
            ศรัทธา ชื่อว่า อินทริย์ เพราะมีสภาวะเป็นใหญ่ โดยครอบงำความไม่ศรัทธา.
            ข. ให้ทำความเป็นใหญ่ เช่น อธิโมกฺขลกฺขเณ วา อินฺทตฺตํ กาเรตีติ อินฺทฺริยํ, สทฺธา เอว อินฺทฺริยํ สทฺธินฺทฺริยํ.
            ชื่อว่า อินทรีย์ เพราะเหตุว่า ยังสัมปยุตธรรมกระทำตนให้เป็นใหญ่ ในเพราะมีการน้อมใจเชื่อเป็นลักษณะ. ศรัทธา นั่นเอง เป็น อินทรีย์ ชื่อว่า สัทธินทรีย์.
            อินทรีย์ ๕ คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ ท่านอธิบายไว้สองนัยดังกล่าว แต่มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ ท่านแสดงเฉพาะอรรถที่ ๒ คือ ให้ทำความเป็นใหญ่ ดังนี้ว่า
            อนุปาลนลกฺขเณ อินฺทตฺตํ กาเรตีติ อินฺทฺริยํ
            ชีวิต ชื่อว่า อินทรีย์ เพราะอรรถว่า ยังสัมปยุตธรรมให้ทำความเป็นใหญ่ เพราะตนมีการตามรักษาเป็นลักษณะ.
            โดยนัยที่มาในอรรถกถานี้ แสดงว่า คำว่า สหชาตอนุปาลเน เป็นสัตตมีวิภัตติลงในอรรถเหตุอธิปจฺจโยค เป็นตติยาวิภัตติในอรรถวิเสสนะ จึงระบุว่า อินฺทฺริย ในคำว่า ชีวิตินทรีย์ มีอรรถคือความเป็นใหญ่ ไม่ได้มีอรรถว่า ครอบงำ เหมือนอย่างสัทธินทรีย์เป็นต้น.
            คำว่า อธิปจฺจโยค มีวจนัตถะ ดังที่มาในโยชนาต่อไปนี้
            ปตติ อนุปาลเน อิสฺสรภาวํ คจฺฉตีติ ปติ,  ยํ ชีวิตํ. ปต คติมฺหิ มุนาทีหิ จิ. อธีนํ ปติ อธิปติ. อธีนนฺติ อตฺตนา อธีนํ ธมฺมานํ อิติ อตฺโถ. อธิปติสฺส ภาโว อธิปจฺจํ. วุฑฺฒิ อนิจฺโจ. ยุชฺชนํ โยโค. อธิปจฺเจน โยโค. อธิปจฺจโยโค.
            ชีวิตใด (ปตติ = คจฺฉติ) ย่อมถึง  ซึ่งความเป็นใหญ่ ในการตามรักษา เพราะเหตุนั้น ชีวิต นั้น ชื่อว่า ปติ (ธรรมที่ถึงความเป็นใหญ่ในการตามรักษา) . ปตธาตุ ในความไป, ลงอิปัจจัย ด้วยสูตรว่า  มุนาทีหิ จิ. ธรรมที่ถึงความเป็นใหญ่ แห่งธรรมที่เกี่ยวข้อง ชื่อว่า อธิบดี. บทว่า อธีนํ หมายความว่า แก่ธรรม อันเกี่ยวข้อง กับตน. ความเป็น แห่งอธิบดี ชื่อว่า ความเป็นอธิบดี (ได้แก่ การตามรักษาธรรมที่เกิดร่วมกันกับตน). การวุทธิ ไม่แน่นอน. การประกอบ ชื่อว่า โยคะ. การประกอบ โดยความเป็นใหญ่ ชื่อ อธิปจฺจโยค. ชีวิต ชื่อว่าเป็นอินทรีย์ เพราะมีสภาวะเป็นใหญ่ กล่าวคือ ความเป็นอธิบดี.
            อนึ่ง ในคำว่า อธิปติ นี้ อธิ ศัพท์ มีอรรถว่า อายตฺต เกี่ยวข้องหรืออาศัย.  บางครั้งมีรูปเป็น อธิน. คัมภีร์มุทธโพธฏีกา อธิบายว่า ลง อิน ปัจจัยท้ายศัพท์ที่ลงปฐมาวิภัตติ ในอรรถ              สกัตถะ.  ดังนั้น อธิ และ อธิน จึงมีความหมายเดียวกัน. (ตามที่ติปิฎกปาลิเมียนมาร์อภิธานอ้าง)
[๔๔] มณิ.ว่า บทนี้เป็นสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถนิมิต (เหตุ) แปลว่า เพราะ.  ส่วน โยชนา ให้ลงในอรรถอาธาระ แปลว่า ใน. ในที่นี้แปลเป็นนิมิตสัตตมี เนื่องจากสอดคล้องกับปาฐะในอัฏฐสาลินีว่า
            “อนุปาลนลกฺขเณ ( = อนุปาลนลกฺขณเหตุ - นัยที่มาใน สา.โยชนา) อินฺทฏฺฅํ  กาเรตีติ  อินฺทฺริยํ (ตํสมฺปยุตฺตธมฺโม หิ อตฺตโน อินฺทภาวํ ปรมิสฺสรภาวํ การยติ - นัยที่มาใน สา.โยชนา), ชีวิตเมว อินฺทฺริยํ ชีวิตินฺทฺริยํ.  ตํ ปวตฺตสนฺตตาธิปเตยฺยํ โหติ   (ปวตฺตสงฺขาตาย สนฺตติยา อธิปติภูตํ -  มูลฎีกา). ชีวิตินทรีย์นั้น ทำสัมปยุตธรรมให้ทำความเป็นใหญ่ เหตุว่ามีการตามรักษาเป็นลักษณะ (หมายความว่า ธรรมที่เกิดร่วมกับชีวิตินทรีย์นั้น ยังชีวิตินทรีย์ ให้ทำความเป็นใหญ่ยิ่งแก่ตน). ชีวิตินทรีย์ ศัพท์ เป็นอวธารณกัมมธารยสมาส มีวจนัตถะว่า อินทรีย์คือชีวิต. ชีวิตินทรีย์ นั้นย่อมเป็นธรรมชาติเป็นใหญ่แก่สันตติคือความเป็นไป.
[๔๕] มณิ. อธิบายว่า มีการตามรักษาสหชาตธรรมเหล่านั้นไว้ในขณะที่สหชาตธรรมที่ตนรักษายังมีอยู่เท่านั้น. เพราะว่า เมื่อสหชาตธรรมที่ตนจะรักษาไม่มี ตนเองจะพึงรักษาสิ่งใดกันเล่า.
            บทว่า น้ำ ในที่นี้ ได้แก่ น้ำที่อยู่ในบ่อ, และ น้ำเลี้ยงที่อยู่ในก้านบัว.ในอุปมาสองอย่างนั้น การตามรักษาในขณะที่ธรรมอันตนรักษายังมีอยู่ เห็นชัดได้ในอุปมาแรกว่า น้ำในบ่อ. ส่วนการตามรักษาในขณะที่ตน (คือชีวิตินทรีย์) มีอยู่ เห็นชัดได้ในอุปมาที่สองว่า น้ำในก้านบัว. ขยายความจากอรรถกถาอัฏฐสาลินีได้ว่า
            สนฺเตปิ อนุปาลนลกฺขณาทิมฺหิ วิธาเน อตฺถิกฺขเณเยว ตํ เต ธมฺเม อนุปาเลติ อุทกํ วิย          อุปฺปลาทีนิ, ยถาสกํ ปจฺจยุปฺปนฺเนปิ ธมฺเม ปาเลติ ธาตี วิย กุมารํ, สยํ ปวตฺติตธมฺมสมฺพนฺเธเนว ปวตฺตติ นิยามโก วิย, ภงฺคโต อุทฺธํ ปวตฺตยติ อตฺตโน ปวตฺตยิตพฺพานญฺจ อภาวา, ภงฺคกฺขเณ ฐเปติ สยํ ภิชฺชมานตฺตา ขียมาโน วิย วฏฺฏิสิเนโห ทีปสิขํฯ อนุปาลนปวตฺตนฏฺฅปนานุภาว- วิรหิตํ ยถาวุตฺตกฺขเณ ตสฺส ตสฺส สาธนโตติ ทฏฺฐพฺพํฯ
            อนึ่ง เมื่อวิธี (หลักการของชีวิตินทรีย์) มีการตามรักษาเป็นลักษณะเป็นต้น (อัฏฐสา.โยชนา อธิบายว่า นอกจากนี้ยังหมายถึง การยังสหชาตธรรมเหล่านั้นเป็นไป, การธำรงไว้ซึ่งสหชาตธรรมเหล่านั้น, อนึ่ง การที่ท่านยกข้อนี้ขึ้นแสดงไว้เนื่องจากปฏิเสธว่า เมื่อชีวิตินทรีย์ยังการรักษาสหชาตธรรมเป็นต้นให้สำเร็จอยู่อย่างนี้, อะไรจะเป็นความดับไปแห่งสหชาตธรรม, ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้น ธรรมเหล่านั้นก็จะต้องดำรงอยู่ตลอดกาลนะสิ) จะมีอยู่ก็ตาม ชีวิตินทรีย์นั้น ย่อมรักษาสหชาตธรรมเหล่านั้น ในขณะที่มีอยู่เท่านั้น  เหมือนอย่างน้ำตามหล่อเลี้ยงบัวมีบัวอุบลเป็นต้น ฉะนั้น (คำว่า มีอยู่ มูลฏีกากล่าวว่า หมายถึง ในขณะที่ธรรมอันตนพึงรักษามีอยู่ เพราะเมื่อไม่มีดอกบัวที่จะตนรักษา น้ำก็จะรักษาสิ่งใดกัน, ส่วนใน สา.โยชนา อธิบายว่า คำว่า มีอยู่ หมายถึง ในขณะที่ธรรมอันตนรักษา, หรือในขณะที่ตนเองคือชีวิตินทรีย์มีอยู่).
            อนึ่ง ชีวิตินทรีย์ ย่อมตามรักษาแม้ธรรมที่เกิดจากปัจจัย ตามที่เป็นของตน เหมือนกับ หญิงแม่นมเลี้ยงเด็กอยู่ฉะนั้น (หมายถึง ชีวิตินทรีย์สามารถตามรักษาธรรมแม้ว่าตนมิได้เป็นผู้ทำให้เกิดขึ้นโดยตรงเหมือนอย่างหญิงแม่นมเลี้ยงเด็ก-สมภพ), และตนเอง ย่อมเป็นไปโดยสัมพันธ์กับธรรมที่ตนให้เป็นไป เหมือนอย่างกลาสีย่อมเป็นไปโดยสัมพันธ์กับเรือที่ตนเองให้เป็นไป ฉะนั้น (หมายถึง ถ้าว่าธรรมอื่นๆสามารถมีเหตุเป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่งฉันใด, แม้ชีวิตินทรีย์เอง ก็สามารถมีเหตุให้เป็นไปได้ กล่าวคือ สภาวะที่ตนเองก็ต้องอาศัยสหชาตธรรมเหล่านั้นเป็นไป เช่นกัน-สมภพ) . ย่อมให้เป็นไปเกินกว่าภังคขณะ ไม่ได้ เพราะทั้งตนและธรรมที่ตนจะให้เป็นไปไม่มี, และจะธำรงธรรมเหล่านั้นในภังคักขณะไม่ได้ เพราะตนเองก็กำลังดับ เหมือนอย่างไส้ตะเกียงและน้ำมัน เมื่อสิ้นไป ย่อมธำรงเปลวประทีบไม่ได้. อย่างไรก็ตาม พึงเห็นว่า ชีวิตินทรีย์นั้น ไม่เว้นจากอานุภาพคือการตามรักษา,ให้เป็นไปและทรงไว้เลย เพราะการให้สำเร็จกิจนั้นๆในขณะดังกล่าวนั้นนั่นเอง [มูลฏีกาอธิบายว่า การให้สำเร็จกิจนั้นๆ ก็โดยเป็นปัจจัยแก่การเป็นไปได้แห่งสหชาตธรรม อนุฏีกาอธิบายเพิ่มเติมว่า รูปที่เนื่องด้วยอินทรีย์ (คนเป็น) ต่างจากรูปของคนตายและกัมมชรูปต่างจากรูปอื่นๆมีอุตชรูปเป็นต้น ก็มีชีวิตนทรีย์เป็นผู้สร้างนั่นเอง].
[๔๖] หมายความว่า ดอกบัวมีหลายพันธ์ โดยเฉพาะที่มาในพระบาฬีมี ๗ คือ อุปฺปล บัวอุบล บัวขาว หรือบัวหลวง ปทุม บัวปทุม มีทั้งสีขาว, เขียวและแดง โกมุท บัวโกมุท บัวแดง ปุณฺฑริก บัวบุณฑริก บัวขาว โกกนท บัวโกกนุท บัวแดงเช่นกัน กมล บัวหลวง, กลฺลหาร บัวจงกลนี มีสีแดง.
[๔๗] มณิ. อธิบายว่า ท่านอาจารย์แสดง การ ศัพท์ เป็นภาวสาธนะว่า กรณํ กาโร. ด้วยรูปวิเคราะห์นี้ แสดงว่า คำว่า กาโร จะเป็นสาธนะอื่นไปมิได้, ได้แก่ กรณ นั่นเอง (แปลว่า การกระทำ).
            คำว่า มนสฺมึ กาโร ความว่า การกระทำอารมณ์ไว้ในใจ. เพราะว่า ใจ ถูกธรรมใด กระทำไว้ในอารมณ์ เพราะใจนั้นประกอบอยู่กับอารมณ์, อารมณ์ ก็ย่อมถูกธรรมนั้น กระทำไว้ในใจ เพราะเหตุนั้นเหมือนกันคือ ใจนั้นประกอบอยู่กับอารมณ์ เหมือนกันแล. คำว่า มนสิกาโร นี้เป็นอลุตตสมาส (สมาสไม่ได้ลบวิภัตติ) เหมือนกับคำว่า ปุพฺเพนิวาสา.
            คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหทีปนี ให้วิเคราะห์ว่า กฺริยา กาโร, กรณํ = ฅปนํ วา กาโร. มนสฺมึ           กาโร มนสิกาโร. การกระทำ ชื่อว่า การะ, อีกนัยหนึ่ง การตั้งไว้ ชื่อว่า การะ. โดยแสดงว่า การ ศัพท์มาจาก กร ธาตุ กรณฅปน มีความหมายว่า กระทำและตั้งไว้ + ณ ปัจจัยในภาวสาธนะ.
            ปรมัตถทีปนีแสดงว่า
            มนสิการ คือ สภาวะกระทำอารมณ์ไม่ให้ว่างเปล่าในจิต (มนสฺมึ อารมฺมณํ อสุฃฺฃํ กโรตีติ มนสิกาโร. มน บทหน้า + กร ธาตุ + ณ ปัจจัย),
            อีกนัยหนึ่ง มนสิการ คือ สภาวะกระทำจิตให้น้อมไปในอารมณ์เสมอ. (มนํ อารมฺมเณ   นิจฺจนินฺนํ กโรตีติ มนสิกาโร (มน บทหน้า + กร ธาตุ + ณ ปัจจัย)
            มนสิการ มี ๓ ประการ คือ
            ๑) อารัมมณปฏิปาทกมนสิการ  ได้แก่ มนสิการเจตสิก เพราะกระทำอารมณ์เข้าไว้ในจิต
            ๒) วีถิปฏิปาทกมนสิการ ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนะ เพราะทำให้จิตต่างไปจากจิตเดิม (จิตเดิม ได้แก่ ภวังคจิต, ส่วนจิตที่ต่างไปได้แก่เป็นวิถีจิต- มูลฏีกา, มาจาก มน สัททูปปท + กร กรเณ- อภิธัมมัตถสังคหทีปนีฏีกา)
            ๓) ชวนปฏิปาทกมนสิการ  ได้แก่ มโนทวาราวัชชนะ เพราะทำจิตให้ต่างไปจากจิตเดิม (จิตที่ต่างไปได้แก่เป็นชวนจิต - มูลฏีกา).
            ในที่นี้ประสงค์เอา อารัมมณปฏิปาทกมนสิการเท่านั้น.
            คัมภีร์ปรมัตถทีปนีแสดงว่า
            วิถีปฏิปาทกมนสิการ (มนสิการที่ยังวิถีจิตให้เป็นไป) หมายถึง ปัญจทวาราวัชชนจิต ซึ่งทำให้เกิดความสืบต่อแห่งจิตในปัญจทวารได้สำเร็จ คือ ให้ประกอบในอารมณ์ทางปัญจทวาร)
            ชวนปฏิปาทกมนสิการ (มนสิการที่ยังชวนะให้เป็นไป) หมายถึง มโนทวาราวัชชนจิต ซึ่งทำให้ความสืบต่อแห่งชวนจิตเกิดและเป็นไปได้สำเร็จ คือ ให้ประกอบในอารมณ์ (ทางมโนทวาร).
            จิตทั้งสองประเภทนี้ได้ชื่อว่า โยนิโสมนสิการ หรือ อโยนิโสมนสิการ ท่นั้นๆ เนื่องจากจิตได้รับแรงเกื้อหนุนจากปัจจัยเช่นการสั่งสม การน้อมไปและการกำหนดเป็นต้น มาโดยตลอด ย่อมกระทำจิตให้น้อมไปในอารมณ์โดยแยบคายหรือไม่แยบคาย.
            อารัมมณปฏิปาทกมนสิการ (มนสิการที่ยังอารมณ์ให้เป็นไป) คือ สภาวธรรม (มนสิการเจตสิก) ที่ทำให้เกิดกระแสจิตเป็นไปต่อเนื่องตั้งแต่ปฏิสนธิจิตซึ่งจะละอารมณ์แล้วดับไปก็เกิดขึ้นใหม่ในอารมณ์เก่าได้อีกเมื่อไม่มีเหตุพิเศษ (คือเมื่อไม่มีอารมณ์อื่นที่ชัดเจนกว่ามาปรากฏ ก็ทำให้เกิดกระแสจิตในอารมณ์เก่าได้)
            อารมมณปฏิปาทกมนสิการถูกระบุขึ้นในที่นี้ เพราะมนสิการเจตสิกนี้ประกอบอารมณ์ไว้ในจิตหรือประกอบจิตไว้ในอารมณ์.
[๔๘] ลักขณาทิจตุกกะของมนสิการ ดังนี้
            เจตโส อารมฺมเณ สมนฺนาหารลกฺขโณ  มีการนำจิตมาตั้งไว้ในอารมณ์ (สมนฺนหาร มาจาก สม + อาหาโร  หมายถึง ฅิต แปลว่า ตั้ง - โยชนา) เป็นลักษณะ,
            (อรรถกถาอัฏฐสาลินีว่า สารณลกฺขโณ มีการยังสัมปยุตธรรมให้แล่น (ตรงไปสู่อารมณ์ - สา.โยชนา) เป็นลักษณะ
            สมฺปยุตฺตกานํ อารมฺมเณน สํโยชนรโส มีการประกอบสัมปยุตธรรมเข้ากับอารมณ์เป็นกิจ, 
            อารมฺมณาภิมุขภาวปจฺจุปฏฺฅาโน มีภาวะที่มุ่งหน้าต่ออารมณ์เป็นปัจจุปัฏฐาน,             อารมฺมณปทฏฺฅาโน มีอารมณ์เป็นปทัฏฐาน.
            มนสิการนี้ นับเนื่องอยู่ในสังขารขันธ์ พึงเห็นว่า เหมือนนายสารถี เพราะเป็นธรรมที่ยังสัมปยุตธรรมให้เป็นไปในอารมณ์.
[๔๙] พระอาจารย์สุมังคละ กล่าวโลกูปมา (อุปมาทางโลก) นี้ขึ้นมา เพื่อจะชี้ให้เห็นความต่างกันแห่งธรรม ๓ ประการนี้ที่มีความคล้ายคลึงกัน.
[๕๐] พล ศัพท์ มีอรรถ ๓ คือ สตฺติ ความสามารถ, เสนา กองทัพ, ถูลตฺต ความล่ำสัน (ธาน. ๘๙๔) ในที่นี้มีอรรถว่า เสนา มีวิ.ว่า วิ. พลํ เสนาพฺยูหํ เนตีติ พลนายโก, โย ชโน. ชนผู้นำพล คือ หมู่ทหาร ชื่อว่า พลนายก นายพล (แม่ทัพ). (โยชนา)
[๕๑] ปโยชน มีอรรถ ๒ คือ นิโยชน ส่งไปหรือชักชวน, การิย ผลประโยชน์ (ธาน. ๑๐๓๗) ในที่นี้มีอรรถ ปโยชน. ความจริงแล้ว มนสิการมีสภาวะที่ชักนำสัมปยุตธรรมให้มุ่งหน้าต่ออารมณ์. แต่ในที่นี้แปลว่า บังคับ โดยมุ่งจะให้สอดคล้องกับอุปมาที่เกี่ยวกับการชักนำม้าไปสู่ทิศทางที่ต้องการไปก็การชักม้าโดยกิริยาดังกล่าวมีบัญญัติในภาษาไทยว่า บังคับแปลว่า ให้เป็นไปตามประสงค์ เช่น บังคับเครื่องบินให้ขึ้นลง (พ.ร. ๒๕๒๕).
[๕๒] พระสุมังคลาจารย์กล่าวข้อความนี้ขึ้นมา เพื่อย้ำให้ผู้ศึกษาเชื่อถือในความต่างกันแห่งธรรมดังกล่าว ซึ่งตั้งอยู่บนฐานแห่งความเข้าใจยาก โดยนำคำอนุสาสนีของโบราณาจารย์มาแสดง
[๕๓] มณิ. แก้เป็น สทฺทหิตฺวา แปลว่า เชื่อ และให้เชื่อมกับ สทฺธาย ข้างหน้าว่า เชื่อแล้ว ด้วยศรัทธา
[๕๔] สทฺธาย ศัพท์นี้ มณิ. แก้เป็น สทฺทหเนน โอกปฺเปตฺวา แปลว่า กำหนดจิตลงไปด้วยการเชื่อ. แต่ในโยชนา. แก้เป็น สทฺทหิตฺวา เชื่อแล้ว และให้เป็นปุพพกาลกิริยา ในบทว่า โอกปฺเปตฺวา (กำหนดจิตลงไป) โดยให้รูปวิเคราะห์ว่า สทฺทหนํ สทฺธา, ปุพฺพกาเลติอาทินา สทฺธสทฺทโต ตฺวา สพฺเพหิ             ตุนาทีนํ โย. การเชื่อ ชื่อว่า สัทธา, ลง ตฺวา ปัจจัยท้าย สทฺธ ศัพท์ ด้วยสูตรว่า ปุพฺพกาเล ตุน (กจ.๕๖๔). แปลง ตฺวา เป็น ย ด้วยสูตรว่า สพฺเพหิ ตูนาทีนํ โย (กจ.๕๙๗) .ในที่นี้แปลตามนัยของมณิ.
[๕๕] ตํตํยาถาวสรสลกฺขณํ มณิ. แนะให้แปล ว่า ยาถาวํ อวิตถํ สรสสงฺขาตํ สภาวํ สภาวะกล่าวคือลักษณะของตนที่เป็นสภาวะมีอยู่จริง. แต่ในที่นี้แปลตามนัยที่มาในโยชนา.
            ศัพท์นี้ มีวิเคราะห์ตามที่มาในโยชนาโดยลำดับ ดังนี้
            รสิตพฺโพติ  รโส  โย  สภาโว  ปณฺฑิเตน  รสิตพฺโพ  วิฺาตพฺโพ  อิติ  ตสฺมา  โส  สภาโว  รโส ผุสนาทิลกฺขณ. สสฺส  อตฺตโน รโส สรโส จ ต ลกฺขณฺจาติ สรสลกฺขณ ยาถาวฺจ ต  สรสลกฺขณฺจาติ ยาถาวสรสลกฺขณ ต  ต ยาถาวสรสลกฺขณ  ตตยาถาวสรสลกฺขณ  กมฺมธารโย .
            สภาวะที่ถูกรู้ ชื่อว่า รส, ความว่า สภาวะที่บัณฑิตรู้ ได้แก่ ลักษณะมีการกระทบเป็นต้น.   
            ลักษณะที่ชื่อว่า รส ของตน ชื่อว่า สรส,
            ลักษณะอันเป็นรสของตน  ชื่อว่า สรสลกฺขณ. (ถือเอาความได้ว่า สภาวลักษณะของตน- วิเสสนบุพพบทกัมมธารยสมาส)
            ลักษณะอันเป็นรสของตนตามที่เป็นจริง ชื่อว่า ยาถาวสรสลกฺขณ.
            ลักษณะอันเป็นรสของตนตามที่เป็นจริงทุกๆประการ ชื่อว่า ตํตํยาถาวสรสลกฺขณ.
            พึงทราบว่า รส ศัพท์ในที่นี้มีอรรถว่า สิ่งที่ถูกรู้ ได้แก่ ลักษณะหรือสภาวะ มิใช่ รส ศัพท์ ที่มีอรรถว่า เป็นกิจหรือเป็นความสำเร็จสมบูรณ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในลักขณาทิจตุกกะ. ก็ รส ที่มีอรรถว่า กิจ เป็นต้นมีวิเคราะห์ว่า
            รสิยตีติ  รโส.  ย  กิจฺจฺจ  สมฺปนฺนภาโว  จ  กตฺตุภูเตน  าเณน  รสิยติ อสฺสาทิยติ  อิติ  ตสฺมา ต กิจฺจฺจ สมฺปนฺนภาโว  จ รโส,  ธมฺมสฺส สาธารณาทิกิจฺจ สมฺปนฺนภาโว จ. รส  อสฺสาทเน สพฺพโต  ณฺวุตฺวาวี  วาติ  อ.
            สิ่งที่น่ายินดี คือ ถูกญาณยินดี ได้แก่ กิจมีสาธารณกิจเป็นต้นและภาวะที่สมบูรณ์แห่งธรรมทั้งหลาย. มาจาก รส ธาตุ ในอรรถว่า ยินดี ลง อ ปัจจัย ในกรรมสาธนะ.
            อย่างไรก็ตาม แม้โดยสัททัตถนัย ได้แก่ สิ่งที่ถูกรู้เหมือนกัน คือ วจนัตถะแรก ถูกบุคคลรู้ วจนัตถะที่ ๒ ถูกญาณยินดี กล่าวคือ เป็นอารมณ์ของญาณเ. แต่โดยอธิปเปตัตถะ มีความหมายต่างกัน คือ วจนัตถะแรกหมายเอาลักษณะมีความแข็งเป็นต้น ส่วนวจนัตถะที่ ๒ หมายถึง กิจและการสำเร็จสมบูรณ์. 
            ลกฺขณ สิ่งที่ถูกบัณฑิตกำหนดได้ วิเคราะห์ว่า
            ลกฺขิยติ เอเตนาติ ลกฺขณํ,   ลกฺขิตพฺพ  ธมฺมชาต  ปณฺฑิเตน  อนิจฺจาทินา ลกฺขิยติ  อิติ   ตสฺมา  ต  อนิจฺจาทิก  ลกฺขณ  นาม  สาธารโณ อนิจฺจาทิโก  กกฺขฬผุสนาทิโก  อสาธารโณ  จ.  ลกฺข  องฺเก  กตฺตุกรณปฺปเทเสสุ  จ  อนกา  ยุณฺวูน  รหาทิโต  โน  ณ.
            ธรรมชาติ อันบัณฑิตกำหนดได้ ด้วยความไม่เที่ยงเป็นต้น ดังนั้น ความไม่เที่ยงเป็นต้นนั้น ชื่อว่า ลักษณะ (สิ่งที่บัณฑิตใช้เป็นเครื่องกำหนดสภาวธรรม). ได้แก่ ลักษณะที่สาธารณะ มีไม่เที่ยงเป็นต้น และลักษณะที่ไม่สาธารณะ มีแข็งและกระทบเป็นต้น แห่งธรรมทั้งหลาย. มาจาก ลกฺข ธาตุ ในอรรถว่า กำหนด ลง ณ ปัจจัยในกรณสาธนะ.
            ยาถาว เป็นนิบาตใช้ในอรรถว่า อวิปรีต ไม่แปรปรวน, ตามความเป็นจริง, ตรงตามนั้น ซึ่ง ความหมายเท่ากับ ตถ แน่นอน อวิตถ ไม่ผิด, ภูต มีอยู่จริง เป็นต้น
[๕๖] ได้แก่ โดยเนื่องด้วยสภาวะมีความแข็งและกระทบเป็นต้น (มณิ.)
[๕๗] อุคฺคหณ ศัพท์ หมายถึง การเรียนหรือท่องหนังสือ จนกระทั่งถือเอาได้ หรือจำได้ขึ้นใจ.
[๕๘] มณิ. อธิบายว่า วิปฺปฏิปชฺชนฺเตหิ = วิปรีตคฺคาเหน มิจฺฉาฃาเณน หุตฺวา คือ เป็นบุคคลผู้รู้ โดยการถือเอาผิดๆ คือ โดยมิจฉาญาณ (ถือเอาความได้ว่า รู้อย่างไม่ถูกต้อง หรือสำคัญผิด)
[๕๙] ประโยคนี้สรุปความได้ว่า คนที่กำลังเข้าใจผิดๆอยู่ในธรรมนั้นก็จะหายลุ่มหลง
[๖๐] มณิ.ว่า ได้แก่ พระอรรถกถาจารย์.
[๖๑] มณิ.แนะให้แปลเป็นกาลสัตตมี ว่า เอตฺถ เตสํ สภาวสมธิคมาย สมฺมาวายามกาเล ในกาลแห่งการทำความเพียรเพื่อบรรลุสภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น. (สรุปความได้ว่า ข้อความดังนี้ว่า ... นี้เป็นอนุสาสนีของพระอรรถกถาจารย์ในขณะที่กุลบุตรทำความเพียรเพื่อรู้แจ้งธรรมเหล่านั้น) ในที่นี้แปลเป็นอาธาระ ตามนัยของโยชนา.
[๖๒] สาธารณ  มาจาก สา = สมาน เท่ากันหรือเหมือนกัน + ธารณํ ทรงไว้. มีวิ.  เย เจตสิกา จิตฺเตหิ สมฺมา ธารยนฺตีติ เต เจตสิกา สาธารณา. [เจตสิก เหล่าใด ถูกจิตทรงไว้อย่างเสมอกัน เจตสิกเหล่านั้น ชื่อว่า สาธารณะ เจตสิกที่ถูกจิตทรงไว้อย่างเสมอกัน. เจตสิกเหล่านั้น เป็นสาธารณะ แก่จิตทั้งหมด ชื่อว่า สัพพจิตสาธารณะ.]
[๖๓] นาม ศัพท์ ในที่นี้เป็นนิบาต ส่องอรรถว่า บัญญัติ แปลว่า เรียกชื่อว่า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น