วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2560

อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา ปริจเฉทที่ ๒ จบสัมปโยคนัย

สมฺปโยคนยวณฺณนา
สมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัย มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๒๒๖. จิตฺเตน สห อวิยุตฺตา จิตฺตาวิยุตฺตา, เจตสิกาติ วุตฺตํ โหติฯ อุปฺปชฺชตีติ            อุปฺปาโท, จิตฺตเมว อุปฺปาโท จิตฺตุปฺปาโทฯ อญฺญตฺถ ปน สสมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตฺตุปฺปาโทติ วุจฺจติ ‘‘อุปฺปชฺชติ จิตฺตํ เอเตนาติ อุปฺปาโท, ธมฺมสมูโห, จิตฺตญฺจ ตํ อุปฺปาโท จาติ  จิตฺตุปฺปาโท’’ติ กตฺวาฯ สมาหารทฺวนฺเทปิ หิ ปุลฺลิงฺคํ กตฺถจิ สทฺทวิทู อิจฺฉนฺติฯ  เตสํ  จิตฺตาวิยุตฺตานํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค อิโต ปรํ ยถาโยคํ ปวุจฺจตีติ สมฺพนฺโธฯ
   อวิยุตฺตา สภาวะที่ไม่ประกอบ สห พร้อม จิตฺเตน ด้วยจิต จิตฺตาวิยุตฺตา ชื่อว่า จิตฺตาวิยุตฺต. โหติ ย่อมมี วจนํ คำอธิบาย วุตฺตํ ที่พระอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ อิติ ว่า เจตสิกา ได้แก่ เจตสิก. ยํ จิตฺตํ จิตใด อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิด อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ จิตฺตํ จิตนั้น อุปฺปาโท ชื่อว่า อุปฺปาท. อุปฺปาโท การเกิดขึ้น จิตฺตํ เอว คือจิต จิตฺตุปฺปาโท ชื่อว่า จิตตุปฺปาท (แปลว่า สภาวะที่เกิดขึ้นคือจิต).  ปน ส่วนว่า อฃฺฃตฺถ ในที่อื่นจากคาถานี้ วุจฺจติ ท่านอาจารย์กล่าว อิติ ว่า จิตฺตํ จิต สสมฺปยุตฺตํ พร้อมด้วยสัมปยุต-ธรรม จิตฺตุปฺปาโท ชื่อว่า จิตฺตุปฺปาท กตฺวา เพราะกระทำ [วิคฺคหํ วิเคราะห์] อิติ ว่า จิตฺตํ จิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น เอเตน ธมฺมชาเตน ด้วยธรรมชาตินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น โส ธมฺมชาโต ธรรมชาตินั้น อุปฺปาโท ชื่อว่า อุปฺปาท ธรรมชาติอันเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งจิต, ธมฺมสมุโห ได้แก่ กองแห่งธรรม. จิตฺตํ จิตด้วย ตํอุปฺปาโท จ กองธรรมอันเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งจิตด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺตุปฺปาโท ชื่อว่า จิตฺตุปฺปาท จิตและกองธรรมอันเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งจิต.  หิ ความจริง กตฺถจิ ในบางแห่ง สทฺทวิทู อาจารย์ผู้รู้ไวยากรณ์ อิจฺฉนฺติ ประสงค์ ปุลฺลิงฺคํ ซึ่งปุงลิงค์ สมาหารทฺวนฺเทปิ แม้ในสมาหารทวันทสมาส.  สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค อิโต ปรํ ยถาโยคํ ปวุจฺจติ (แปลว่า อิโต ปรํ ในนิทเทสหลังจากการแสดงสภาวะของเจตสิกนี้ไป สมฺปโยโค สัมปโยคะ (การประกอบร่วมกัน)   จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งสภาวะอันไม่แยกกันด้วยจิต เตสํ เหล่านั้น จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย ปจฺเจกํ แต่ละดวง ยถาโยคํ ตามควรแก่การประกอบ มยา อันเรา ปวุจฺจติ จะกล่าว.
˜v

อญฺญสมานเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา
อญฺญสมานเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัยในอัญญสมานาเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๒๒๗. สภาเวน อวิตกฺกตฺตา ทฺวิปญฺจวิญฺญาณานิ วชฺชิตานิ เอเตหิ, เตหิ วา เอตานิ วชฺชิตานีติ ทฺวิปญฺจวิญฺญาณวชฺชิตานิ, จตุจตฺตาลีส กามาวจรจิตฺตานิฯ เตสุ เจว    เอกาทสสุ ปฐมชฺฌานจิตฺเตสุ จ วิตกฺโก ชายติ เสสานํ ภาวนาพเลน อวิตกฺกตฺตาติ    อธิปฺปาโยฯ
ทฺวิปญฺจวิญฺญาณานิ ทวิปัญจวิญญาณ เอเตหิ จตุจตฺตาลีสกามาวจรจิตฺเตหิ อันจิตเหล่านี้ วชฺชิตานิ เว้นแล้ว, วา หรือ เอตานิ จตุจตฺตาลีสมาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิต ๔๔ ดวงเหล่านี้ เตหิ ทฺวิปฃฺจวิฃฺฃาเณหิ อันทวิปัญจวิญญาณจิต เหล่านั้น วชฺชิตานิ เว้นแล้ว อวิตกฺกตฺตา เพราะเป็นจิตที่ไม่มีวิตก สภาเวน โดยสภาพ อิติ เพราะเหตุนั้น ทฺวิปญฺจวิญฺญาณวชฺชิตานิ ชื่อว่า ทวิปฃฺจวิฃฺฃาณวชฺชิต จิตมีทวิปัญจวิญญาณอันเว้นแล้ว หรือ จิตอันทวิปัญจวิญญาณเว้นแล้ว, จตุจตฺตาลีสกามาวจรจิตฺตานิ ได้แก่ กามาวจรจิต ๔๔. อธิปฺปาโย อธิบาย อิติ ว่า วิตกฺโก วิตก ชายติ ย่อมเกิด เตสุ เจว ในกามาวจรจิต ๔๔ ดวงนั้น ด้วย เอกาทสสุ ปฅมชฺฌาน- จิตฺเตสุ จ และในปฐมฌานจิต ๑๑ ดวงด้วย อวิตกฺกตฺตา เพราะความที่ - เสสานํ จิตที่เหลือ - ไม่มีวิตก ภาวนาพเลน ด้วยกำลังแห่งภาวนา.

๒๒๘. เตสุ เจว ปญฺจปญฺญาสสวิตกฺกจิตฺเตสุ, เอกาทสสุ ทุติยชฺฌานจิตฺเตสุ จาติ ฉสฏฺฅิจิตฺเตสุ วิจาโร ชายติฯ
วิจาโร วิจาร ชายติ ย่อมเกิด ฉสฏฺฅิจิตฺเตสุ ในจิต ๖๖ ดวง อิติ คือ เตสุ เจว = ปญฺจปฃฺฃาสสวิตกฺกจิตฺเตสุ ในจิตเหล่านั้นนั่นเทียว คือ ในจิตที่เป็นไปกับวิตก ๕๕ , ทุติยชฺฌานจิตฺเตสุ จ ในทุติยฌานจิต เอกาทสสุ ๑๑ ดวง ด้วย.

๒๒๙.ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณหิ, วิจิกิจฺฉาสหคเตน จาติ เอกาทสหิ วชฺชิเตสุ อฏฺฐสตฺตติ-จิตฺเตสุ อธิโมกฺโข ชายติฯ
อธิโมกฺโข อธิโมกข์ ชายติ ย่อมเกิด อฏฺฅสตฺตติจิตฺเตสุ ในจิต ๗๘ ดวง วชฺชิเตสุ ที่เว้น เอกาทสหิ จิต ๑๑ ดวง อิติ คือ ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณหิ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐  วิจิกิจฺฉาสหคเตน จ และ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑.

๒๓๐. ปญฺจทฺวาราวชฺชเนน, ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณหิ, สมฺปฏิจฺฉนทฺวเยน, สนฺตีรณตฺตเยน จาติ โสฬสหิ วชฺชิเตสุ เตสตฺตติยา จิตฺเตสุ วีริยํ ชายติฯ
วีริยํ วิริยะ ชายติ ย่อมเกิด จิตฺเตสุ ในจิตทั้งหลาย เตสตฺตติยา ๗๓ ดวง วชฺชิเตสุ ที่เว้น จิตฺเตหิ จากจิต โสฬสหิ ๑๖ ดวง อิติ คือ ปญฺจทฺวาราวชฺชเนน จ ปัญจทวาราวัชชนจิต๑,ทฺวิปญฺจวิญฺญาเณหิ จ  ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐, สมฺปฏิจฺฉนทฺวเยน จ  สัมปฏิจฉนจิต ๒,สนฺตีรณตฺตเยน จ และหมวด ๓ แห่งสันตีรณจิต.

๒๓๑. โทมนสฺสสหคเตหิ ทฺวีหิ, อุเปกฺขาสหคเตหิ ปญฺจปญฺญาสจิตฺเตหิ,กายวิญฺญาณทฺวเยน, เอกาทสหิ จตุตฺถชฺฌาเนหิ จาติ สตฺตติจิตฺเตหิ วชฺชิเตสุ เอกปญฺญาสจิตฺเตสุ ปีติ ชายติฯ
   ปีติ ปิติ ชายติ ย่อมเกิด เอกปฃฺฃาสจิตฺเตสุ ในจิต ๕๑ วชฺชิเตสุ เว้น สตฺตติจิตฺเตหิ จิต ๗๐ ดวง อิติ คือ โทมนสฺสสหคตจิต ทฺวีหิ จ โทมนัสสหคตจิต ๒, อุเปกฺขาสหคเตหิ ปฃฺจปฃฺฃาสจิตฺเตหิ จ อุเบกขาสหคตจิต ๕๕, กายวิฃฺฃาณทฺวเยน จ กายวิญญาณจิต ๒, เอกาทสหิ จตุตฺถฌาเนหิ จ และจตุตถฌานจิต ๑๑.

๒๓๒. อเหตุเกหิ อฏฺฐารสหิ, โมมูเหหิ ทฺวีหิ จาติ วีสติยา จิตฺเตหิ วชฺชิเตสุ เอกูนสตฺตติจิตฺเตสุ ฉนฺโท ชายติฯ
ฉนฺโท ฉันทะ ชายติ ย่อมเกิด เอกูนสตฺตติจิตฺเตสุ ในจิต ๖๙ วชฺชิเตสุ เว้น จิตฺเตหิ จิต วีสติยา ๒๐ อิติ คือ อเหตุเกหิ อฏฺฅารสหิ จ อเหตุกจิต ๑๘, โมมูเหหิ ทฺวีหิ จ และ     โมหมูลจิต ๒.

๒๓๒. เต ปนาติ ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ตํสหคตา จฯ ยถากฺกมนฺติ วิตกฺกาทิฉปกิณฺณกวชฺชิตตํสหิตกมานุรูปโตฯ ‘‘ฉสฏฺฐิ ปญฺจปญฺญาสา’’ตฺยาทิ เอกวีสสตคณน-วเสน, เอกูนนวุติคณนวเสน จ ยถารหํ โยเชตพฺพํฯ
   อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาท ปกิณฺณวิวชฺชิตา ที่เว้นจาก ปกิณณกเจตสิก ตํสหคตา จ และที่เป็นไปร่วมกับปกิณณกเจตสิกนั้น ดังนี้ เต ปน อิติ ปททฺวยสฺส แห่ง ๒ บท ว่า เต ปน ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า วิตกฺกาทิฉปกิณฺณกวชฺชิตตํสหิตกมานุรูปโต ตามสมควรแก่ลำดับแห่งจิตตุปบาทที่เว้นและเป็นไปร่วมกันกับปกิณณกเจตสิก ๖ มีวิตกเป็นต้น ดังนี้ ยถากฺกมํ อิติ ปทสฺส แห่งบทว่า ยถากฺกมํ ดังนี้.
‘‘ฉสฏฺฐิ ปญฺจปญฺญาสา’’ตฺยาทิ ปทํ บทว่า ฉสฏฺฐิ ปญฺจปญฺญาส เป็นต้น โยเชตพฺพํ อันบัณฑิตพึงประกอบ เอกวีสสตคณนวเสน โดยการนับเป็นจิต ๑๒๑,  เอกูนนวุติคณนวเสน จ โดยการนับเป็นจิต ๘๙  ยถารหํ ตามสมควร.

อญฺญสมานเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
อญฺญสมานเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัยในอัญญสมานเจตสิก
นิฏฺฅิตา จบแล้ว.
˜v

อกุสลเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา
อกุสลเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัยในอกุสลเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว.
๒๓๓. ‘‘สพฺพากุสลสาธารณา’’ติ วตฺวา ตเทว สมตฺเถตุ ํ ‘‘สพฺเพสุปี’’ตฺยาทิ วุตฺตํฯ โย หิ โกจิ ปาณาติปาตาทีสุ ปฏิปชฺชติ, โส สพฺโพปิ โมเหน ตตฺถ อนาทีนวทสฺสาวี  อหิริเกน ตโต อชิคุจฺฉนฺโต, อโนตฺตปฺเปน อโนตฺตปฺปนฺโต, อุทฺธจฺเจน อวูปสนฺโต จ โหติ, ตสฺมา เต สพฺพากุสเลสุ อุปลพฺภนฺติฯ
สพฺเพสุปิ อิติอาทิ วจนํ คำเป็นต้นว่า สพฺเพสุปิ ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วตฺวา กล่าว อิติ ว่า สพฺพากุสลสาธารณา ดังนี้แล้ว วุตฺตํ จึงได้กล่าวไว้ สมตฺเถตุ เพื่ออัน - ตเทว ยังคำว่า สพฺพากุสลสาธารณา นั้นนั่นแหละ ให้หนักแน่น.  หิ ด้วยว่า โย โกจิ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ปฏิปชฺชติ ย่อมปฏิบัติ ปาณาติปาตาทีสุ ในทุจริตทั้งหลายมีปาณาติบาตเป็นต้น, โส ปุคฺคโล บุคคลนั้น สพฺโพปิ แม้ทั้งปวง อนาทีนวทสฺสาวี จ มิได้เป็นผู้มีปกติเห็นโทษ ตตฺถ ทุจริเตสุ ในทุจริตเหล่านั้น โมเหน ด้วยโมหะ,                  อชิคุจฺฉนฺโต ไม่รังเกียจอยู่ ตโต ทุจฺจริตโต แต่ทุจริตนั้น อหิริเกน ด้วยอหิริกะ, อโนตฺตปฺปนฺโต จ ไม่หวาดกลัวอยู่ ตโต ทุจริตโต แต่ทุจริตนั้น อโนตฺตปฺเปน  ด้วยอโนตตัปปะ, อวูปสนฺโต จ และ เป็นผู้ไม่สงบ อุทฺธจฺเจน ด้วยอุทธัจจะ โหติ ย่อมเป็น, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เต จตฺตาโร เจตสิก ๔ ดวงเหล่านั้น อุปลพฺภนฺติ ย่อมได้ สพฺพากุสเลสุ ในอกุสลจิตทั้งปวง.

๒๓๔. โลภสหคตจิตฺเตเสฺววาติ เอว-กาโร อธิการตฺถายปิ โหตีติ  ‘‘ทิฏฺฐิสหคตจิตฺเตสู’’ติอาทีสุปิ อวธารณํ ทฏฺฐพฺพํฯ สกฺกายาทีสุ หิ อภินิวิสนฺตสฺส  ตตฺถ มมายนสมฺภวโต ทิฏฺฐิ โลภสหคตจิตฺเตสฺเวว ลพฺภติฯ มาโนปิ อหํมานวเสน ปวตฺตนโต   ทิฏฺฐิสทิโสว ปวตฺตตีติ ทิฏฺฐิยา สห เอกจิตฺตุปฺปาเท น ปวตฺตติ เกสรสีโห วิย อปเรน  ตถาวิเธน สห เอกคุหายํ, น จาปิ โทสมูลาทีสุ อุปฺปชฺชติ อตฺตสิเนหสนฺนิสฺสยภาเวน เอกนฺตโลภปทฏฺฐานตฺตาติ โส ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺเตสฺเวว ลพฺภติฯ
เอว กาโร เอวศัพท์ ปเท ในบท อิติ ว่า โลภสหคตจิตฺเตเสฺวว โลภสหคตจิตฺตสฺเสว (ในจิตที่สหรคตด้วยโลภะ ๘ ดวงเท่านั้น) โหติ ย่อมมี อธิการตฺถายปิ แม้เพื่ออธิการะ (การติดตามไปเพื่ออุปการะแก่ศัพท์ต่อไปข้างหน้า) อิติ เพราะเหตุนั้น   อวธารณํ อวธารณะ (การระบุเจาะจงจำกัดความ) ทฏฺฅพฺพํ บัณฑิตพึงเห็น    อิติอาทีสุปิ ปเทสุ ในบททั้งหลายมีบทว่า ทิฏฺฐิสหคตจิตฺเตสุ ทิฏฺฐิสหคตจิตฺเตสุ (แปลว่า ในจิตที่สหรคตด้วยทิฏฐิเท่านั้น).   หิ จริงอยู่ ทิฏฺฅิ ทิฏฐิ ลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ โลภสหคตจิตฺเตสุ เอว ในโลภสหคตจิตเท่านั้น  มมายนสมฺภวโต เพราะความเกิดขึ้นโดยความประพฤติว่าของเรา ตตฺถ ในธรรมมีกายของตนนั้น อภินิวิสนฺตสฺส ก็สำหรับบุคคลผู้ยึดถืออยู่ สกฺกายาทีสุ ในธรรมมีกายอันเป็นของตนเป็นต้น.
 มาโนปิ แม้มานะ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ทิฏฺฅิสทิโสว เป็นเช่นเดียวกับทิฏฐินั่นเอง ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป อหํมานวเสน เนื่องด้วยการสำคัญตนว่าเรา อิติ เพราะเหตุนั้น (โส มาโน) มานะนั้น น ปวตฺตติ ย่อมไม่เป็นไป สห ร่วมกัน เอกจิตฺตุปฺปาเทน ด้วยจิตตุปบาทเดียวกัน ทิฏฺฅิยา แห่งทิฏฐิ วิย เหมือนกับ เกสรสีโห ไกรสรราชสีห์  น ปวตฺตนฺโต ไม่เป็นไปอยู่ เอกคุหายํ ในถ้ำเดียวกัน สห ร่วมกับ อปเรน ราชสีห์ตัวอื่น ตถาวิเธน ซึ่งมีประการเดียวกัน. อปิ อนึ่ง น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึ้น  โทสมูลาทีสุ ในอกุศลจิตอื่นๆมีโทสมูลจิตเป็นต้น เอกนฺตโลภปทฏฺฅานตฺตา เพราะความที่ตนมีโลภะเป็นปทัฏฐานโดยส่วนเดียว อตฺตสิเนหสนฺนิสฺสยภาเวน เพราะ (มานะ) มีความเยื่อใยในตนเป็นที่อาศัย อิติ เพราะเหตุนั้น โส มาโน มานะนั้น ลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ ทิฏฺฅิวิปฺปยุตฺเตสุ เอว ในทิฏฐิวิปปยุตจิตเท่านั้น.
๒๓๕. ตถา ปรสมฺปตฺติ ํ อุสูยนฺตสฺส, อตฺตสมฺปตฺติยา จ ปเรหิ สาธารณภาวํ อนิจฺฉนฺตสฺส, กตากตทุจฺจริตสุจริเต อนุโสจนฺตสฺส จ ตตฺถ ตตฺถ ปฏิหนนวเสเนว ปวตฺตนโต อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺจานิ ปฏิฆจิตฺเตสฺเววฯ
ตถา เหมือนอย่างนั้น อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺจานิ อิสสา มัจฉริยะ และกุกกุจจะ ลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ ปฏิฆจิตฺเตสุ เอว ในปฏิฆจิตเท่านั้น อุสูยนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ชิงชังอยู่ ปรสมฺปตฺตึ ซึ่งสมบัติของผู้อื่น, อนิจฺฉนฺตสฺส จ แก่บุคคลผู้ไม่ปรารถนา สาธารณภาวํ ซึ่งความเป็นของทั่วไป ปเรหิ ด้วยชนอื่น อตฺตสมฺปตฺติยา แห่งสมบัติของตน, อนุโสจนฺตสฺส จ และแก่บุคคลผู้เศร้าโศกในภายหลัง กตากต ทุจฺจริตสุจริเต ในทุจริตที่ทำแล้วและสุจริตที่ยังไม่ได้ทำ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป ปฏิหนนวเสน เอว โดยเกี่ยวกับเป็นความขัดเคือง ตตฺถ ตตฺถ ในอารมณ์ต่างๆมีสมบัติของผู้อื่นเป็นต้น นั้นๆ.
๒๓๖. อกมฺมญฺญตาปกติกสฺส ตถา สภาวติกฺเขสุ อสงฺขาริเกสุ ปวตฺตนาโยคโต  ถินมิทฺธํ สสงฺขาริเกสฺเวว ลพฺภติฯ
ตถา และเช่นกัน ถินมิทฺธํ ถีนมิทธะ ลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ สสงฺขาริเกสุ เอว ในสสังขาริกจิตเท่านั้น ปวตฺตนาโยคโต เพราะความที่ - อกมฺมฃฺฃตาปกติกสฺส   ถีนมิทธะซึ่งมีปกติไม่ควรในการงาน  - ไม่ประกอบด้วยความเป็นไป อสงฺขาริเกสุ ในอสังขาริกจิต สภาวติกฺเขสุ ซึ่งมีความกล้าแข็งเป็นสภาพ.
๒๓๗. สพฺพาปุญฺเญสฺเวว จตฺตาโร เจตสิกา คตา, โลภมูเลเยว ยถาสมฺภวํ ตโย คตา, โทสมูเลสฺเวว ทฺวีสุ จตฺตาโร คตา, ตถา สสงฺขาเรเยว ทฺวยนฺติ โยชนาฯ   วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จาติ -สทฺโท อวธารเณฯ วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาจิตฺเตเยวาติ สมฺพนฺโธฯ
โยชนา การประกอบความ [อิมิสฺสํ คาถายํ ในคาถานี้ อิติ ว่า
                    สพฺพาปฺุเสุ จตฺตาโร     โลภมูเล ตโย กตา
           โทสมูเลสุ จตฺตาโร           สสงฺขาเร ทฺวยนฺตถา ]
อิติ ว่า สพฺพาปุญฺเญสฺเวว จตฺตาโร เจตสิกา กตา, โลภมูเลเยว ยถาสมฺภวํ ตโย กตา, โทสมูเลสฺเวว ทฺวีสุ จตฺตาโร กตา, ตถา สสงฺขาเรเยว ทฺวยํ (แปลว่า จตฺตาโร          เจตสิกา เจตสิก ๔ ดวง กตา อันท่านกระทำไว้ (คือตรัสไว้) สพฺพาปุญฺเญสุ เอว ในอกุศลจิตทั้งปวงนั่นเทียว, ตโย เจตสิก ๓ ดวง กตา อันท่านกระทำไว้ โลภมูเล เอว ในโลภมูลจิตเท่านั้น ยถาสมฺภวํ ตามควรแก่การเกิดได้, จตฺตาโร เจตสิก ๔ ดวง กตา อันท่านทำไว้ โทสมูเลสุ เอว ทฺวีสุ ในโทสมูลจิต ๒ ดวง เท่านั้น, ตถา เช่นกัน ทฺวยํ เจตสิกทั้งสอง  (คือถีนะและมิทธะ) กตํ ทรงกระทำไว้ สสงฺขาเรสุ เอว ในสสังขาริกจิตเท่านั้น ดังนี้.
จสทฺโท จศัพท์ วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จ อิติ ในบทว่า วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จ นี้ วตฺตติ ย่อมเป็นไป อวธารเณ ในอรรถอวธารณะ. สมฺพนฺโธ เชื่อมความ   อิติ ว่า วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉาจิตฺเตเยว (วิจิกิจฉา ทรงกระทำไว้ ในวิจิกิจฉาจิต เท่านั้น).
อกุสลเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
อกุสลเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัยในอกุสลเจตสิก
นิฏฺฅิตา จบแล้ว
˜v

โสภนเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา
โสภนเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมโยคนัยในโสภณเจตสิก
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าว
๒๓๘. โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ปาทกชฺฌานาทิวเสน กทาจิ สมฺมาสงฺกปฺปวิรโห สิยา, น ปน วิรตีนํ อภาโว มคฺคสฺส กายทุจฺจริตาทีนํ สมุจฺเฉทวเสน, ผลสฺส จ ตทนุกูลวเสน ปวตฺตนโตติ วุตฺตํ ‘‘วิรติโย ปนา’’ตฺยาทิฯ สพฺพถาปีติ สพฺเพหิปิ ตํตํทุจฺจริตทุราชีวานํ วิธมนวสปฺปวตฺเตหิ อากาเรหิฯ น หิ เอตาสํ โลกิเยสุ วิย โลกุตฺตเรสุปิ มุสาวาทาทีนํ วิสุ ํ วิสุ ํ  ปหานวเสน ปวตฺติ โหติ สพฺเพสเมว ทุจฺจริตทุราชีวานํ เตน เตน มคฺเคน เกสญฺจิ สพฺพโส, เกสญฺจิ อปายคมนียาทิอวตฺถาย ปหานวเสน เอกกฺขเณ สมุจฺฉินฺทนโตฯ               นนุ จายมตฺโถ ‘‘เอกโตวา’’ติ อิมินาว สิทฺโธติ? ตํ น, ติสฺสนฺนํ เอกโตวุตฺติปริทีปนมตฺเตน จตุพฺพิธวจีทุจฺจริตาทีนํ ปฏิปกฺขาการปฺปวตฺติยา อทีปิตตฺตาฯ เกจิ ปน อิมมตฺถํ อสลฺลกฺเขตฺวาว ‘‘‘สพฺพถาปีติ อิทํ อติริตฺต’’นฺติ วทนฺติ, ตตฺถ เตสํ อญฺญาณเมว การณํฯ ‘‘นิยตา’’ติ อิมินาปิ โลกิเยสุ วิย กทาจิ สมฺภวํ นิวาเรติฯ ตถา เหตา โลกิเยสุ  เยวาปนกวเสน เทสิตา, อิธ ปน สรูเปเนวฯ กามาวจรกุสเลสฺเววาติ อวธารเณน กามาวจรวิปากกิริเยสุ มหคฺคเตสุ จ สมฺภวํ นิวาเรติฯ ตถา เจว อุปริ วกฺขติฯ กทาจีติ มุสาวาทาทิเอเกกทุจฺจริเตหิ ปฏิวิรมณกาเลฯ กทาจิ อุปฺปชฺชนฺตาปิ น เอกโต อุปฺปชฺชนฺติ วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุสงฺขาตานํ อตฺตโน อารมฺมณานํ สมฺภวาเปกฺขตฺตาติ วุตฺตํ ‘‘วิสุ ํ วิสุ’’นฺติ
โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตรจิต สมฺมาสงฺกปฺปวิรโห การเว้นจากสัมมาสังกัปปะ  สิยา พึงมี กทาจิ ในกาลบางคราว ปาทกชฺฌานาทิวเสน ด้วยอำนาจแห่งปาทกฌานเป็นต้น, ปน ส่วน อภาโว ความไม่ วิรตีนํ แห่งวิรตีทั้งหลาย น สิยา พึงมีไม่ได้  ปวตฺตนโต จ เพราะความเป็นไป สมุจฺเฉทวเสน เนื่องด้วยการตัดได้เด็ดขาด กายทุจฺจริตาทีนํ ซึ่งอกุศลมีกายทุจริตเป็นต้น มคฺคสฺส แห่งมรรค, ปวตฺตนโต จ และ เพราะความเป็นไป ตทนุกูลวเสน โดยกิจอันสมควรต่อมรรคนั้น ผลสฺส แห่งผล อิติ เพราะเหตุนั้น ‘‘วิรติโย ปนา’’ตฺยาทิ คำเป็นต้นว่า ส่วนวิรตีเจตสิก ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวแล้ว.
อตฺโถ เนื้อความ อิติ ว่า อากาเรหิ โดยอาการทั้งหลาย   วิธมนวสปฺปวตฺเตหิ ซึ่งเป็นไปโดยเกี่ยวกับการย่ำยี ตํตํทุจฺจริตทุราชีวานํ ซึ่งทุจริตและการเลี้ยงชีพผิดๆนั้น สพฺเพหิปิ โดยอาการแม้ทั้งปวง. หิ จริงอยู่ ปวตฺติ ความเป็นไป ปหานวเสน เนื่องการละ มุสาวาทาทีนํ ทุจริตมีมุสาวาทเป็นต้น วิสุ วิสุ แยกกันเป็นอย่างๆ เอตาสํ แห่งวิรตีเหล่านั้น น โหติ ย่อมไม่มี โลกุตฺเรสุ ในโลกุตรจิตทั้งหลาย วิย เหมือนอย่าง โลกิเยสุ ในโลกียจิตทั้งหลาย สมุจฺฉินฺทนโต เพราะการตัดได้เด็ดขาด สพฺเพสเมว ทุจฺจริตทุราชีวานํ ซึ่งทุจริตและการเลี้ยงชีพผิดๆทั้งปวงนั่นเทียว เตน เตน มคฺเคน ด้วยมรรคนั้นๆ เอกกฺขเณ ในขณะเดียวกัน หานิวเสน จ เนื่องด้วยความหมดไป เกสญฺจิ กิเลสานํ แห่งกิเลสบางพวก สพฺพโส โดยประการทั้งปวง, และ หานิวเสน จ เนื่องด้วยความหมดไป อปายคมนียาทิอวตฺถาย แห่งข้อกำหนด (ความสามารถแห่งกิเลส) มีการไปถึงอบายเป็นต้น เกสญฺจิ กิเลสานํ  ของกิเลสบางพวก ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า สพฺพถาปิ แม้โดยอาการทั้งปวง ดังนี้.
โจทนา ท้วงว่า ก็ อตฺโถ เนื้อความ [สมุจฺฉินฺทนสงฺขาโต กล่าวคือ การละได้เด็ดขาด ทุจฺจริตทุราชีวานํ ซึ่งทุจริตและการเลี้ยงชีพผิด สพฺเพสํ เอว ทั้งปวงนั่นเทียว เตน เตน มคฺเคน ด้วยมรรคนั้นๆ เอกกฺขเณ ในขณะเดียวกัน] อยํ นี้ สิทฺโธ สำเร็จแล้ว อิมินา ด้วยคำนี้ อิติ ว่า เอกโตว พร้อมกัน ดังนี้ นั่นเทียว นนุ มิใช่หรือ? ดังนี้.
ปริหาโร ตอบว่า ตํ ภวตา วุตฺตวจนํ คำที่ท่านว่ามานั้น น สิทฺธํ ไม่สำเร็จหรอก, อทีปิตตฺตา เพราะความที่ - ปฏิปกฺขาการปฺปวตฺติยา ความเป็นไปโดยอาการที่เป็นปฏิปักษ์ จตุพฺพิธวจีทุจฺจริตาทีนํ ต่อวจีทุจริต ๔ ประการและการเลี้ยงชีพผิดเป็นต้น - อาจริเยน อันอาจารย์ มิได้แสดงไว้ เอกโตวุตฺติปริทีปนมตฺเตน โดยเพียงการแสดงความเป็นไปโดยความเป็นอันเดียวกัน ติสฺสนฺนํ วิรตีนํ แห่งวิรตีทั้งสาม. เกจิ วาทิโน อาจารย์นักพูดบางพวก อสลฺลกฺเขตฺวา ไม่กำหนดแล้ว อิมํ อตฺถํ ซึ่งเนื้อความนี้ นั่นเทียว วทนฺติ จึงกล่าว อิติ ว่า อิทํ ปทํ บทนี้ อิติ ว่า สพฺพถาปิ ดังนี้ อติริตฺตํ ไม่มีประโยชน์. อฃฺฃานํ ความไม่รู้ เตสํ เกจิวาทีนํ แห่งอาจารย์นักพูดบางพวกเหล่านั้น เอว นั่นเทียว การณํ เป็นเหตุ ตตฺถ [= ตสฺมึ วจเน ในการกล่าว] นั้น.
อาจริโย ท่านอาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม สมฺภวํ ซึ่งการเกิด กทาจิ ในกาลบางคราว วิย เหมือนกับ โลกิเยสุ ในโลกิยจิตทั้งหลาย อิมินาปิ แม้ด้วยบทนี้ อิติ ว่า นิยตา เป็นประจำ.  ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอตา วิรติโย วิรตีเหล่านั้น เทสิตา อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง โลกิเยสุ ในโลกิยจิต เยวาปนกวเสน โดยเกี่ยวกับเป็นเจตสิกพวกเยวาปนกะ กล่าวคือ มิได้กำหนดไว้แน่นอน, ปน แต่ อิธ ในโลกุตรจิตนี้ เทสิตา ทรงแสดงไว้ สรูเปน เอว โดยสภาวะที่มีอยู่นั่นเทียว.
อวธารเณน ด้วยการจำกัดความ อิติ ว่า กามาวรกุสเลสุ เอว ในกามาวจรกุสลจิตเท่านั้น ดังนี้ อาจริโย ท่านอาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม สมฺภวํ ซึ่งการเกิดขึ้น กามาวจรวิปากกิริเยสุ จ ในกามาวจรวิบากจิตและกามาวจรกริยาจิต  มหคฺคเตสุ จ และในมหัคคตจิต. ก็ อาจริโย ท่านอาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว อุปริ ในอธิการว่าด้วยสังคหนัย ข้างหน้า เอว นั่นเอง ตถา อย่างนั้นคือการไม่เกิดขึ้นแห่งวิรตีในจิตมีกามาวจรวิบากเป็นต้น.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า ปฏิวิรมณกาเล ในกาลเป็นที่งดเว้น มุสาวาทาทิเอเกก-ทุจฺจริเตหิ จากทุจริตแต่ละอย่างๆมีมุสาวาทเป็นต้น ดังนี้ กทาจิ อิติ ปทสฺส แห่งบทว่า กทาจิ ในกาลบางคราว ดังนี้. วิรติโย วิรตีทั้งหลาย อุปฺปชฺชนฺตาปิ แม้เมื่อเกิด กทาจิ ในกาลบางคราวคือกาลที่งดเว้นนั้น น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่เกิด เอกโต โดยความเป็นอันเดียวกัน สมฺภวาเปกฺขตฺตา เพราะเพ่งถึงความเป็นไป อารมฺมณานํ แห่งอารมณ์ อตฺตโน ของตน วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุสงฺขาตานํ กล่าวคือวีติกกมตัพพวัตถุ (อารมณ์ที่วิรตีพึงก้าวล่วง) อิติ เพราะเหตุนั้น  วจนํ คำ อิติ ว่า วิสุ วิสุเป็นแต่ละอย่าง ดังนี้         อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้.

๒๓๙. อปฺปนาปฺปตฺตานํ อปฺปมญฺญานํ น กทาจิ โสมนสฺสรหิตา ปวตฺติ อตฺถีติ ‘‘ปญฺจมเป.จิตฺเตสุ จา’’ติ วุตฺตํฯ วินีวรณาทิตาย มหตฺตํ คตานิ, มหนฺเตหิ วา  ฌายีหิ คตานิ ปตฺตานีติ มหคฺคตานิฯ นานา หุตฺวาติ ภินฺนารมฺมณตฺตา อตฺตโน อารมฺมณภูตานํ ทุกฺขิตสุขิตสตฺตานํ อาปาถคมนาเปกฺขตาย วิสุ ํ วิสุ ํ หุตฺวาฯ เอตฺถาติ  อิเมสุ กามาวจรกุสลจิตฺเตสุ, กรุณามุทิตาภาวนากาเล อปฺปนาวีถิโต ปุพฺเพ ปริจยวเสน อุเปกฺขาสหคตจิตฺเตหิปิ ปริกมฺมํ โหติ, ยถา ตํ ปคุณคนฺถํ สชฺฌายนฺตสฺส กทาจิ อญฺญวิหิตสฺสปิ สชฺฌายนํ, ยถา จ ปคุณวิปสฺสนาย สงฺขาเร สมฺมสนฺตสฺส กทาจิ ปริจยพเลน ญาณวิปฺปยุตฺตจิตฺเตหิปิ สมฺมสนนฺติ อุเปกฺขาสหคตกามาวจเรสุ กรุณามุทิตานํ อสมฺภววาโท เกจิวาโท กโตฯ อปฺปนาวีถิยํ ปน ตาสํ เอกนฺตโต โสมนสฺสสหคเตสฺเวว สมฺภโว ทฏฺฐพฺโพ ภินฺนชาติกสฺส วิย ภินฺนเวทนสฺสปิ อาเสวนปจฺจยาภาวโตฯ
ปวตฺติ ความเป็นไป โสมนสฺสรหิตา เว้นจากโสมนัส กทาจิ ในกาลบางคราว น อตฺถิ ย่อมไม่มี อปฺปมฃฺฃานํ แก่อัปปมัญญา อปฺปนาปฺปตฺตํ ที่ถึงอัปปนา อิติ เพราะเหตุนั้น วจนํ คำ อิติ ว่า ปฃฺจม ... เป ... จิตฺเตสุ จ ในมหัคคตจิตที่เว้นปัญจมฌาน ๑๒ ดวง ดังนี้ อาจริเยน อันอาจารย์ วุตฺตํ กล่าวไว้แล้ว. จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย คตานิ อันถึงแล้ว มหตฺตํ ซึ่งความเป็นธรรมชาติยิ่งใหญ่ วินีวรณาทิตาย เพราะภาวะที่ปราศจากนิวรณ์เป็นต้น, วา อีกนัยหนึ่ง ยานิ จิตฺตานิ จิตเหล่าใด ฌายีหิ อันพระโยคีผู้มีการเพ่ง มหนฺเตหิ ที่ยิ่งใหญ่ คตานิ = ปตฺตานิ พึงบรรลุ   อิติ เพราะเหตุนั้น ตานิ จิตฺตานิ จิตเหล่านั้น มหคฺคตานิ ชื่อว่า มหัคคตจิต.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า วิสุ วิสุ หุตฺวา เป็นแต่ละอย่างๆ อาปาถคมนาเปกฺขตาย เพราะเล็งการมาถึงคลองทวาร ทุกฺขิตสุขิตสตฺตานํ แห่งสัตว์ที่ถึงทุกข์และสุข อารมฺมณภูตานํ ที่เป็นอารมณ์ อตฺตโน ของตน ภินฺนารมฺมณตฺตา เพราะความที่มีอารมณ์ต่างกัน ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า นานา หุตฺวา เป็นธรรมชาติแยกกัน ดังนี้.
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า อิเมสุ กามาวจรกุสลจิตฺเตสุ ในบรรดากามาวจรกุศลจิตเหล่านี้, กรุณามุทิตาภาวนากาเล ในกาลที่เจริญกรุณาและมุทิตา ปริกมฺมํ บริกรรม ปุพฺเพ ในกาลก่อน อปฺปนาวีถิโต แต่อัปปนาวิถี โหติ ย่อมมี อุเปกฺขาสหคตจิตฺเตหิปิ แม้ด้วยอุเบกขาสหคตจิต ปริจยวเสน ด้วยอำนาจของความคุ้นเคย, ยถา ตํ เหมือนกับ สชฺฌายนํ การสวด สชฺฌายนฺตสฺส แห่งบุคคลผู้สวด ปคุณคนฺถํ ซึ่งคันถะที่ตนคล่องแคล่ว อฃฺฃวิหิตสฺสปิ แม้ว่าเป็นส่งใจไปยังอารมณ์อื่น กทาจิ ในกาลบางคราว ฉะนั้น, ยถา จ และเหมือนกับ สมฺมสนํ การพิจารณา สมฺมสนฺตสฺส แห่งพระโยคีผู้พิจารณา สงฺขาเร ซึ่งสังขารทั้งหลาย ปริจยพเลน ด้วยกำลังแห่งความคุ้นเคย ญาณวิปฺปยุตฺตจิตฺเตหิปิ แม้ด้วยญาณวิปยุตจิต กทาจิ ในกาลบางคราว ปคุณวิปสฺสนาย ด้วยวิปัสสนาที่คล่องแคล่ว ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อสมฺภววาโท วาทะว่าไม่มี กรุณามุทิตานํ แห่งกรุณาและมุทิตา อุเปกฺขาสหคตกามาวจเรสุ ในกามาวจรอุเบกขาสหคตจิต อาจริเยน อันอาจารย์ กโต กระทำแล้ว [อิติ ว่า] เกจิวาโท เป็นวาทะของอาจารย์บางพวก ดังนี้ อาทิอิติ ปเท ในบทเป็นต้นว่า เอตฺถ ในบรรดากามาวจรจิตเหล่านี้ ดังนี้.
ปน แต่ว่า อปฺปนาวีถิยํ ในอัปปนาวิถี สมฺภโว ความเกิดขึ้น ตาสํ แห่งอัปมัญญาทั้งสองนั้น  โสมนสฺสสหคเตสุ เอว ในโสมนัสสหคตจิตเท่านั้น เอกนฺตโต โดยแน่นอน ทฏฺฅพฺโพ อันบัณฑิตพึงทราบ อาเสวนปจฺจยาภาวโต เพราะ - [ภินฺนเวทนสฺส กามาวจรจิตที่มีเวทนาต่างกัน] ไม่เป็นอาเสวนปัจจัย ภินฺนเวทนสฺสปิ ให้แก่มหัคคตจิตแม้ที่มีเวทนาต่างกัน วิย เหมือนอย่างกับ อาเสวนปจฺจยาภาโว - [ภินฺนชาติกสฺส จิตที่มีชาติต่างกัน] ไม่เป็นอาเสวนปัจจัย ภินฺนชาติกสฺส ให้แก่จิตที่มีชาติต่างกัน ฉะนั้น.

 ๒๔๐. ตโย โสฬสจิตฺเตสูติ สมฺมาวาจาทโย ตโย ธมฺมา อฏฺฅโลกุตฺตรกามาวจร-กุสลวเสน โสฬสจิตฺเตสุ ชายนฺติฯ
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า ตโย ธมฺมา ธรรมทั้ง ๓ สมฺมาวาจาทโย มีสัมมาวาจาเป็นต้น ชายนฺติ ย่อมเกิด โสฬสจิตฺเตสุ ในจิต ๑๖ อฏฺฅโลกุตฺตรกามาวจรกุสลวเสน คือ โลกุตรจิต ๘ และกามาวจรกุศลจิต ๘ ดังนี้ ปททฺวยสฺส แห่งหมวดสองแห่งบท อิติ ว่า ตโย โสฬสจิตฺเตสุ ธรรม ๓ ย่อมเกิด ในจิต ๑๖ ดวง ดังนี้.

๒๔๑. เอวํ นิยตานิยตสมฺปโยควเสน วุตฺเตสุ อนิยตธมฺเม เอกโต ทสฺเสตฺวา เสสานํ นิยตภาวํ ทีเปตุ ํ ‘‘อิสฺสามจฺเฉรา’’ตฺยาทิ วุตฺตํฯ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจวิรติกรุณาทโย นานา กทาจิ ชายนฺติ, มาโน จ กทาจิ ‘‘เสยฺโยหมสฺมี’’ตฺยาทิวสปฺปวตฺติยํ ชายติฯ ถินมิทฺธํ ตถา กทาจิ อกมฺมญฺญตาวสปฺปวตฺติยํ สห อญฺญมญฺญํ อวิปฺปโยคิวเสน ชายตีติ โยชนาฯ อถ วา มาโน จาติ เอตฺถ -สทฺทํ ‘‘สหา’’ติ เอตฺถาปิ โยเชตฺวา ถินมิทฺธํ ตถา กทาจิ สห จ สสงฺขาริกปฏิเฆ, ทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตสสงฺขาริเกสุ จ อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺเจหิ, มาเนน จ สทฺธิ ํ, กทาจิ ตทิตรสสงฺขาริกจิตฺตสมฺปโยคกาเล, ตํสมฺปโยคกาเลปิ วา นานา ชายตีติ โยชนา ทฏฺฐพฺพาฯ อปเร ปน อาจริยา ‘‘มาโน จ ถินมิทฺธญฺจ ตถา กทาจิ นานา กทาจิ สห จ ชายตี’’ติ เอตฺตกเมว โยเชสุ ํฯ
เจตสิเกสุ ในบรรดาเจตสิกทั้งหลาย วุตฺเตสุ ที่ท่านได้กล่าวแล้ว นิยตานิยตสมฺปโยควเสน เกี่ยวกับเป็นเจตสิกที่ประกอบแน่นอนและไม่แน่นอน เอวํ อย่างนี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ วุตฺตํ กล่าว อิสฺสามจฺเฉร อิติอาทิ วจนํ คำเป็นต้นว่า ธรรมทั้งหลายมีอิสสา มัจฉริยะ ดังนี้ไว้ ทีเปตุ เพื่ออัน - ทสฺเสตฺวา แสดง อนิยตธมฺเม เจตสิกที่ประกอบกันไม่แน่นอน เอกโต ในคราวเดียวกัน - แล้วแสดง นิยตภาวํ ซึ่งความที่             - เสสานํ เจตสิกที่เหลือทั้งหลาย - เป็นเจตสิกที่ประกอบแน่นอน.
โยชนา การประกอบความ [อิมิสฺสํ คาถายํ ในคาถานี้ อิติ ว่า
                    อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจ-              วิรติกรุณาทโย
                     นานา กทาจิ มาโน จ              ถีนมิทฺธตถา สห]
อิติ ว่า อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจวิรติกรุณาทโย นานา กทาจิ ชายนฺติ, มาโน จ กทาจิ ‘‘เสยฺโยหมสฺมี’’ตฺยาทิวสปฺปวตฺติยํ ชายติฯ ถินมิทฺธํ ตถา กทาจิ อกมฺมญฺญตาวสปฺปวตฺติยํ สห อญฺญมญฺญํ อวิปฺปโยคิวเสน ชายติ (แปลว่า อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจวิรติกรุณาทโย อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรติ กรุณา เป็นต้น ชายนฺติ ย่อมเกิด นานาแยกกัน กทาจิ ในกาลบางคราว. มาโน จ และมานะ ชายติ ย่อมเกิด กทาจิ ในบางคราว คือ ‘‘เสยฺโยหมสฺมี’’ตฺยาทิวสปฺปวตฺติยํ ในคราวที่เป็นไปด้วยอำนาจความถือตัวว่า เราดีกว่า. ถีนมิทฺธ ถีนมิทธะ ตถา ก็เหมือนกัน ชายติ ย่อมเกิด สห ร่วมกัน คือ อวิปฺปโยคิวเสน ด้วยอำนาจความไม่มีการพราก อญฺญมญฺญํ ซึ่งกันและกัน กทาจิ ในกาลบางคราว คือ อกมฺมญฺญตาวสปฺปวตฺติยํ ในคราวที่เป็นไปโดยเป็นสภาวะที่หาความควรในการงานมิได้) อิติ ดังนี้.
อถวา อีกนัยหนึ่ง ทฏฺฅพฺพา - ปณฺฑิเตน อันบัณฑิต โยเชตฺวา ประกอบ จ สทฺทํ ซึ่งจ ศัพท์ มาโน จ อิติ เอตฺถ ในบทว่า มาโน จ ดังนี้ สห อิติ เอตฺถาปิ แม้ในบทว่า สห แล้ว- พึงเห็น โยชนา การประกอบความ อิติ ว่า ถินมิทฺธํ ถีนมิทธะ ตถา ก็เหมือนกัน ชายติ จ ย่อมเกิด กทาจิ ในกาลบางคราว สห จ และร่วมกัน คือว่า สทฺธึ ร่วมกับ อิสฺสามจฺฉริยกุกฺกุจฺเจหิ จ ด้วยอิสสามัจฉริยะและกุกกุจจะ, มาเนน จ และมานะ  สสงฺขาริกปฏิเฆ จ ในปฏิฆจิตที่เป็นสสังขาริก ด้วย, ทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตสสงฺขาริเกสุ จ และในทิฏฐิคตสัมปยุตสสังขาริกจิต ด้วย, ชายติ จ และ ย่อมเกิด นานา แยกกัน [อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจมาเนหิ จากอิสสามัจฉริยะกุกกุจจะและมานะ] กทาจิ ในกาลบางคราว คือ ตทิตรสสงฺขาริกจิตฺตสมฺปโยคกาเล ในกาลที่ประกอบด้วยสสังขาริกจิตที่นอกจากสสังขาริกปฏิฆจิตและทิฏฐิคตสัมปยุตสสังขาริกจิตนั้น, วา หรือว่า ตํสมฺปโยคกาเลปิ แม้ในกาลที่ประกอบกับสสังขาริกปฏิฆจิตและทิฏฐิคตสัมปยุตสสังขาริกจิตนั้น
ปน ส่วน อปเร อาจริยา อาจารย์พวกอื่นอีก โยเชสุ ประกอบแล้ว เอตฺตกํ วจนํ เอว ซึ่งคำพูดเพียงเท่านี้นั่นเทียว อิติ ว่า มาโน จ ถินมิทฺธญฺจ ตถา กทาจิ นานา กทาจิ สห จ ชายติ [มาโน มานะด้วย ถินมิทฺธฃฺจ ถีนมิทธะ ด้วย ตถา เหมือนอย่างนั้น คือชายติ ย่อมเกิด นานา แยกกัน กทาจิ ในกาลบางคราว ด้วย สห จ ร่วมกัน ด้วย กทาจิ ในกาลบางคราว] ดังนี้.

๒๔๒. เสสาติ ยถาวุตฺเตหิ เอกาทสหิ อนิยเตหิ อิตเร เอกจตฺตาลีสฯ เกจิ ปน ‘‘ยถาวุตฺเตหิ อนิยตเยวาปนเกหิ เสสา นิยตเยวาปนกา’’ติ วณฺเณนฺติ, ตํ เตสํ มติมตฺตํ,  อิธ เยวาปนกนาเมน เกสญฺจิ อนุทฺธฏตฺตาฯ เกวลญฺเหตฺถ นิยตานิยตวเสน จิตฺตุปฺปาเทสุ ยถารหํ ลพฺภมานเจตสิกมตฺตสนฺทสฺสนํ อาจริเยน กตํ, เยวาปนกนาเมน เกจิ อุทฺธฏาติ
อตฺโถ อรรถ อิติ ว่า เอกจตฺตาลีส เจตสิกา เจตสิก ๔๑ ดวง อิตเร เหล่าอื่น อนิยเตหิ จากอนิยตโยคีเจตสิก เอกาทสหิ ๑๑ ดวง ยถาวุตฺเตหิ ตามที่กล่าวมาแล้ว ดังนี้ ปทสฺส แห่งบท อิติ ว่า เสสา เจตสิกที่เหลือ ดังนี้. ปน แต่ว่า เกจิ อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ อธิบายว่า นิยตเยวาปนกา เยวาปนกธรรมที่ประกอบได้ไม่แน่นอน เสสา ที่เหลือ อนิยตเยวาปนเกหิ จากเยวาปนกธรรมที่ประกอบได้แน่นอน  ยถาวุตฺเตหิ ตามที่กล่าวมาแล้ว ดังนี้. ตํ วจนํ คำพูดเหล่านั้น มติมตฺตํ เป็นเพียงความเห็น เตสํ อาจริยานํ ของอาจารย์พวกนั้น, อนุทฺธฏตฺตา เพราะความที่ - เกสฃฺจิ เจตสิกานํ แห่งเจตสิกบางพวก  อาจริเยน อันอาจารย์ - ไม่ได้ยกแสดงไว้ เยวาปนก-นาเมน โดยชื่อว่า เยวาปนกะ อิธ  ในที่นี้. หิ จริงอยู่ เอตฺถ ในที่นี้ ลพฺภมาน-เจตสิกมตฺตสนฺทสฺสนํ การแสดงเพียงเจตสิกที่ได้ ยถารหํ ตามสมควร จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาท นิยตานิยตวเสน เนื่องด้วยเป็นเจตสิกที่ประกอบได้แน่นอนและประกอบได้ไม่แน่นอน เกวลํ อย่างเดียว อาจริเยน อันอาจารย์ กตํ แสดงไว้, เกจิ ธรรมบางเหล่า อาจริเยน อันอาจารย์ น อุทฺธฏา ไม่ได้แสดงไว้ เยวาปนกนาเมน โดยชื่อว่า เยวาปนกะ อิติ ดังนี้แล.

เอวํ ตาว ‘‘ผสฺสาทีสุ อยํ ธมฺโม เอตฺตเกสุ จิตฺเตสุ อุปลพฺภตี’’ติ จิตฺตปริจฺเฉทวเสน สมฺปโยคํ ทสฺเสตฺวา อิทานิ ‘‘อิมสฺมึ จิตฺตุปฺปาเท เอตฺตกา เจตสิกา’’ติ    เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน สงฺคหํ ทสฺเสตุ ํ ‘‘สงฺคหญฺจา’’ตฺยาทิ วุตฺตํฯ
อาจริเยน ท่านอาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง สมฺปโยคํ ซึ่งสัมปโยคนัย จิตฺตปริจฺเฉทวเสน เนื่องด้วยการกำหนดจิต อิติ ว่า ผสฺสาทีสุ ในบรรดาธรรมทั้งหลายมีผัสสะเป็นต้น อยํ ธมฺโม ธรรมนี้ อุปลพฺภติ อันบัณฑิตย่อมได้ เอตฺตเกสุ จิตฺเตสุ ในจิตมีประมาณเท่านี้ ดังนี้ เอวํ อย่างนี้ ตาว ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ วุตฺตํ จึงได้กล่าว วจนํ คำ อิติอาทิ เป็นต้นว่า สงฺคหํ จ ดังนี้ไว้ ทสฺเสตุ เพื่ออันแสดง สงฺคหํ ซึ่งสังคหนัย เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน เนื่องด้วยการกำหนดกลุ่มแห่งเจตสิก อิติ ว่า เจตสิกา เจตสิก เอตฺตกา มีประมาณเท่านี้ อุปลพฺภนฺติ อันบัณฑิตย่อมได้ จิตฺตุปฺปาเท ในจิตตุปบาท อิมสฺมึ นี้ ดังนี้.

โสภนเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
โสภนเจตสิกสมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิก
สมฺปโยคนยวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ
นิฏฺฐิตา จบแล้ว.
สมฺปโยคนยวณฺณนา อธิบายสัมปโยคนัย
นิฏฺฐิตา จบแล้วฯ

˜v

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น